X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

บำรุง หรือ ทำร้าย? 3 อาหารบำรุงร่างกายที่อาจทำร้ายลูกถึงชีวิต

บทความ 3 นาที
บำรุง หรือ ทำร้าย? 3 อาหารบำรุงร่างกายที่อาจทำร้ายลูกถึงชีวิต

ให้ลูกกินรังนก, โสม จะดีกับลูกจริงมั้ย? หรือเป็นแค่ความเชื่อผิด ๆ ที่ทำร้ายลูกให้แย่กว่าเดิม

บำรุง หรือ ทำร้าย? 3 อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก ที่อาจทำร้ายลูกถึงชีวิต

อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก

เชื่อว่าครอบครัวชาวไทยทั้งหลาย โดยเฉพาะชาวไทยเชื้อสายจีน น่าจะโตมาพร้อมกับการส่งต่อวัฒนธรรม ความเชื่อต่าง ๆ แบบรุ่นสู่รุ่น โดยที่เราเองก็ยังเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง จะปฎิเสธก็ไม่ได้ บางครั้งแค่เอ่ยถามก็ยังไม่ได้ด้วยซ้ำ ถึงต่อให้ถามไปก็จะได้รับแต่คำตอบเดิม ๆ คือ “มันดีต่อร่างกายก็แล้วกัน” บางเรื่องหากยอมทำตามไปก็อาจไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร ถือซะว่าทำเพื่อความสบายใจของผู้ใหญ่ แต่ในกรณีจะให้ทำตามก็อาจจะเป็นอันตราย โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับ อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก ยอดฮิต อย่าง โสม รังนก และผงไข่มุก ที่หากยอมตามใจผู้ใหญ่ อาจจะต้องเสียใจตลอดชีวิต

3 อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก ที่อาจเป็นอันตราย

1. รังนก

อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก

Advertisement

รังนกเป็นหนึ่งในอาหารยอดฮิตของชาวจีน เพราะเชื่อว่าน้ำลายของนกนี้ เป็นยาบำรุงชั้นดี ที่จะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน อีกทั้งยังช่วยบำรุงร่างกายอีกด้วย แต่รู้หรือไม่ว่า รังนก เป็นหนึ่งในอาหารที่มักจะ “ก่อให้เกิดอาการแพ้” โดยจะมีอาการตั้งแต่ อาเจียน, ตาและปากบวม, เป็นลมพิษ, หายใจลำบาก ไปจนถึงหมดสติ

ซึ่งเจ้าเครื่องดื่มยอดฮิตอย่างรังนกนี้ เคยขึ้นหิ้งสถิติ อาหารที่ทำให้เด็กแพ้มากที่สุด ในประเทศสิงคโปร์ เมื่อยุค 1980 และ 1990 เลยทีเดียว

ถึงแม้ว่าในทุกวันนี้ความนิยมของรักนกจะลดลง เลยไม่ทำให้เด็กแพ้เยอะขนาดนั้นแล้ว แต่ก็ยังมีเด็กจำนวนมากที่ต้องมาพบแพทย์ด้วยอาการ “แพ้รังนก” อยู่ดี เพราะฉะนั้นการที่จะให้เด็กทารกกินรังนกนั้นคงไม่ใช่ความคิดที่ดีนัก

หากจะให้กินจริง ๆ (หรือเลี่ยงไม่ดีเพราะมีญาติ ๆ บังคับให้กิน) ก็ควรรอให้ลูกมีอายุเกิน 1 ขวบขึ้นไปก่อน และให้กินในปริมาณน้อย ๆ แล้วรอดูอาการเพื่อจะได้มั่นใจว่าลูกเราจะไม่เป็นอันตรายนะคะ

2. โสม

อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก

แม้ว่าโสมจะช่วยรักษาไข้หวัดและอาการป่วยได้อย่างดี แต่ว่าโสมนั้นถือเป็น “สมุนไพรที่ไม่เหมาสำหรับเด็กหรือทารก” ยกเว้นจะอยู่ภายใต้การดูแลหรือคำแนะนำของแพทย์เท่านั้น

เนื่องจากว่า โสม อาจกลายเป็นพิษต่อเด็ก และอันตรายถึงชีวิตได้เลยทีเดียว หากใช้ผิดวิธี หรือใช้ในปริมาณที่มากเกินไป

3. ผงไข่มุก

อาหารบำรุงร่างกายสำหรับเด็ก

ผงไข่มุก อาจไม่เป็นที่นิยมเท่าไหร่นักในเมืองไทย แต่ก็ยังมีคนบางส่วนที่มีความเชื่อว่าการให้เด็กกินผงไข่มุกจะช่วยลดไข้ และทำให้ผิวของเด็กกระจ่างใสขึ้น ซึ่งนั่นอาจจะเป็นความจริง แต่นั่นเป็นเพราะ ในผงไข่มุกมี “ปรอท” ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่าเป็นสารที่อันตรายมาก ๆ โดยเฉพาะเมื่อคนที่ทานเข้าไปเป็นเด็ก

แต่ผงไข่มุกก็ยังมีการใช้อยู่บ้างในบางกรณี เช่น เด็กมีอาการชัก หรือมีไข้สูงจัด แต่จะต้องใช้ภายใต้การดูแลของแพทย์เท่านั้น “ห้ามใช้เองเด็กขาด”

ปรึกษาแพทย์เสมอก่อนใช้สมุนไพรในการรักษา

อย่าลืมว่ายาสมุนไพรตามความเชื่อแบบตะวันออกส่วนใหญ่ เป็นยาที่ยังไม่ได้รับการทดสอบความปลอดภัยและสรรพคุณที่แน่ชัด และในเมื่อเราไม่สามารถมั่นใจได้เลยว่า มันปลอดภัยกับเด็กจริงหรือไม่ แพทย์ส่วนใหญ่จึงแนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาสมุนไพร รวมไปถึงวิธีการรักษาอื่น ๆ

อย่าคิดไปเองว่าอะไรที่เป็นของ “ธรรมชาติ” คือสิ่งที่ “ปลอดภัย” เพราะนั่นไม่เป็นความจริงเสมอไป เราต้องใช้ความระมัดระวังเสมอ และถ้ามีข้อสงสัยใด ๆ ควรปรึกษาหมอก่อนเสมอ จะได้มั่นใจว่าลูกเราปลอดภัย ไม่ต้องไปเสี่ยงกับความเชื่อผิด ๆ นะคะ

Credit : sg.theasianparent.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

ให้ลูกกินอาหารเสริมตอนกี่เดือน มื้อแรกของลูกควรเริ่มอย่างไร ให้กินอะไรดี

พบกับ 9 เมนูอาหารเสริมสำหรับลูกวัย 6-9 เดือนพร้อมวิธีทำสุดง่ายจากคุณแม่ทางบ้าน!

วิตามินและอาหารเสริมสำหรับผู้หญิงตั้งครรภ์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

kamonchanok

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • บำรุง หรือ ทำร้าย? 3 อาหารบำรุงร่างกายที่อาจทำร้ายลูกถึงชีวิต
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
    บทความจากพันธมิตร

    นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
    บทความจากพันธมิตร

    นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว