X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อย่าปล่อยให้ที่เล่นแถวบ้าน กลายเป็นมัจจุราชพรากลูก

บทความ 3 นาที
อย่าปล่อยให้ที่เล่นแถวบ้าน กลายเป็นมัจจุราชพรากลูก

แทบทุกปี เรามักจะได้ยินข่าวคราวเด็ก ๆ ได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงปิดเทอม โดยมีสาเหตุมาจากสถานที่เล่นแถวบ้าน ดังนั้นเพื่อเป็นการตอกย้ำและป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสีย ผู้ปกครองทุกคนจึงควรอ่าน!

คนส่วนใหญ่มักจะคุ้นเคยกับคำว่า “7 วันอันตราย” ในช่วงเทศกาลสำคัญต่าง ๆ แต่จริง ๆ แล้วยังมี “3 เดือนอันตราย” ที่พวกเราควรที่จะต้องระวังกันอีก นั่นคือ ช่วงเวลาปิดเทอมใหญ่ ระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี

ที่เล่นแถวบ้าน

และที่น่าตกใจที่สุดก็คือ ช่วง 12 วันของกลางเดือนเมษายน ระหว่างวันที่ 12 – 23 เมษายน มีเด็กที่มีอายุระหว่าง 4 – 12 ปีเสียชีวิตมากที่สุด เมื่อเทียบกับช่วงเวลาอื่น ๆ โดยสาเหตุการเสียชีวิตนั้นมาจาก

– การจมน้ำ แหล่งน้ำเสียที่อยู่ละแวกชุมชน ยกตัวอย่างเช่น บ่อน้ำ สระน้ำสาธารณะ ห้วยหนองคลองบึง และแม่บ้านใกล้บ้าน

– อุบัติเหตุจราจร ขับหรือซ้อนมอเตอร์ไซด์แล้วพลิกคว่ำ ถูกเฉี่ยวชน

– ตกจากที่สูง เช่นตกจากระเบียง หลังคา ต้นไม้ แป้นบาส เสาฟุตบอลหรือถูกของแข็งกระแทก เช่นเล่นสเก็ต ถูกเครื่องเล่นในสนามเด็กเล่นหล่นทับศรีษะ ทำให้ได้รับการกระทบกระเทือยอย่างรุนแรง อวัยวะภายในแตกแหลกเหลว

– ถูกทำร้าย ไฟดูดไฟช็อต การขาดอากาศหายใจ น้ำร้อนลวก เป็นต้น

และทราบหรือไม่คะว่า จากสาเหตุการเสียชีวิตที่เอ่ยมาในข้างต้นนั้น เกิดจากที่ไหน หากไม่ใช่สถานที่เล่นใกล้บ้าน ดังนั้นควรถึงเวลาแล้วที่พวกเราทุกคนจะช่วยกันจัด “เซฟตี้โซน” ให้ลูกหลานของเรากัน

Advertisement

รศ.นพ.อดิศักดิ์ เผยหากเกิดอุบัติเหตุในเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปี ความตายของเด็กกลุ่มนี้ถือเป็นความละเลยของผู้ปกครอง ขณะที่ความตายของเด็กอายุ 7 ปีขึ้นไปมักพบว่าเป็นความละเลยของผู้บริหารท้องถิ่น หรือผู้ดูแลพื้นที่ ยกตัวอย่างเช่น ไม่จัดพื้นที่เล่นปลอดภัยสำหรับเด็ก พื้นที่เล่นของเด็กนั้นไม่มีการแยกเด็กออกจากถนน แหล่งน้ำ ไม่มีการตรวจสอบเครื่องเล่นในสนาม รวมถึงไม่ตรวจสอบความปลอดภัยของสนามกีฬา เป็นต้น

แต่ถึงอย่างไรก็แล้วแต่ เราไม่สามารถที่จะเอาภาระความรับผิดชอบอันเกี่ยวกับความปลอดภัยของลูกให้กับคนอื่นได้เลย เพราะถึงอย่างน้อยหน้าที่หลักในการดูแลบุตรหลานนั้น ย่อมเป็นหน้าที่ของพ่อแม่ และทุกคนในครอบครัว

ขอบคุณภาพและที่มาจาก Post Today

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

5 ภัยช่วงปิดเทอม พ่อแม่ควรระวัง!!

ภัยที่คาดไม่ถึง เด็ก 8 ขวบตายเพราะลูกโป่ง!

TAP-ios-for-article-footer-with-button-1

 

 

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • อย่าปล่อยให้ที่เล่นแถวบ้าน กลายเป็นมัจจุราชพรากลูก
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว