X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สอนภาษาไทย : 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

บทความ 5 นาที
สอนภาษาไทย : 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

เมื่อลูกเริ่มหัดที่จะพูดแล้ว คุณพ่อคุณแม่ต่างก็อยากที่จะ สอนภาษาไทย ทั้งพยัญชนะ และสระ ให้กับลูกน้อยใช่ไหมคะ? ซึ่งแน่นอนว่า ภาษาที่เราจะละเลยไม่ได้นั้น ต้องเป็นภาษาหลักที่เราใช้กัน คือภาษาไทย ยิ่งลูกของเราเข้าใจภาษาไทยได้ดีมากเท่าไหร่ การเรียนของเด็ก ก็จะมีการพัฒนาได้อย่างรวดเร็วมากขึ้นเท่านั้น แล้วคุณพ่อคุณแม่จะ สอนภาษาไทย ให้กับลูกน้อยด้วยวิธีไหนดีล่ะ

 

ควรฝึกด้านใดบ้าง?

การพูด

การสอนเด็ก ๆ พูดคุย มีจุดประสงค์หลักเพื่อการสื่อสาร เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และยังควรที่จะฝึกมารยาทในการพูดด้วยเช่นกัน ซึ่งพัฒนาการของเด็ก โดยทั่วไปจะเริ่มพูดออกมาเป็นคำ ๆ เมื่ออายุได้ประมาณ 1 ขวบครึ่ง และเมื่อถึงวัยที่จะต้องเข้าเรียนในชั้นอนุบาล ก็จะยังไม่สามารถพูดได้มากนัก การที่คุณพ่อคุณแม่เริ่มฝึกลูกในการพูดนั้น ควรที่จะสังเกตท่าทาง ความรู้สึกของเขา เมื่อเริ่มสื่อสารด้วย จะต้องทำอย่างค่อย ๆ เป็น ค่อย ๆ ไป และพูดอย่างชัดถ้อยชัดคำ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้คำศัพท์แต่ละตัว ผ่านบทสนทนานั้น ๆ

 

สอนภาษาไทย

 

การอ่าน

ทักษะการอ่านของเด็กระยะนี้ จะอ่านจากความเข้าใจ ความจำ จากรูปภาพ เพราะยังไม่สามารถ อ่านจากตัวหนังสือได้ สะกดคำไม่ได้ คุณพ่อคุณแม่ อย่าพยายามไปเน้นให้อ่านออก สะกดคำได้ เพราะเด็กจะรู้สึกว่ายาก เครียด พาลให้รู้สึกไม่อยากเรียน

โดยวิธีการสอนเด็กอ่านหนังสือ โดยมากต้องเริ่มจากการฝึกอ่านตาม คือ คุณพ่อคุณแม่อ่านนำให้แล้วให้ลูกอ่านตาม ให้ชี้แต่ละคำว่าอ่านอย่างไร ถ้าเด็กอ่านไม่ได้เราก็จะช่วยแนะช่วยบอก นอกจากนี้การเตรียมโปสเตอร์ ที่มีคำศัพท์พร้อมรูปภาพเกี่ยวกับภาษาไทย เช่น พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ หรือจะหาเป็นบทอาขยานให้เด็ก ๆ ได้ท่องสนุก ๆ ก็ได้ค่ะ

 

Advertisement

สอนภาษาไทย

 

การเขียน

เด็กในวัยนี้กระดูกนิ้วมือ และกล้ามเนื้อของเขายังไม่แข็งแรงมากนัก อย่าบังคับให้พวกเขาฝึกเขียนตัวหนังสือมากจนเกินไป ควรเริ่มฝึกไปที่ละน้อย ๆ โดยให้ฝึกด้วยกระดาษที่ไม่มีเส้นบรรทัด แล้วให้เขาวาดภาพ หรือเขียนอะไรก็ตามที่เขาต้องการสื่อออกมา ก่อนจะให้พวกเขาเริ่มเรียนรู้ตักอักษร พยัญชนะ สระภาษาไทยผ่านแบบฝึกหัดลากเส้นตามรอยประก็ได้ ซึ่งการฝึกแบบนี้ นอกจากพัฒนาทักษะการเขียนแล้ว ยังช่วยพัฒนากล้ามเนื้อของเด็กด้วย

 

สอนอย่างไรให้เด็กอ่านออกเขียนได้

เทคนิคให้ลูกอ่านออกเขียนได้ ต้องเริ่มจากที่พ่อแม่อ่านหนังสือให้ลูกฟัง อ่านวันล่ะ 5 – 10 นาที โดยการเอาลูกมานั่งบนตัก และกอดไว้ เพราะเด็กจะค่อย ๆ เรียนรู้ ซึมซับคำพูดต่าง ๆ ทั้งที่พ่อแม่ไม่ได้สอน หากเด็กชอบเรื่องไหนมาก ๆ แล้าวล่ะก็ เขาก็จะให้เราอ่านให้ฟังซ้ำ ๆ จนสามารถจำเนื้อเรื่องได้ทั้งเล่ม ฉะนั้นหนังสือภาพถ้าเราสามารถ ให้เด็กได้สัมผัสตั้งแต่ตอนเล็ก ๆ เด็กจะเรียนรู้ได้เร็ว ถึงแม่ว่าช่วงแรก ๆ ลูกจะชอบเอาหนังสือมาอมก็ตาม แต่นาน ๆ ไปเด็กจะเริ่มจ้องภาพในหนังสือ และจะเริ่มสนใจมันมากขึ้นด้วย

 

สอนภาษาไทย

 

เมื่อลูกเริ่มโตขึ้น พัฒนาการด้านอื่น ๆ ก็จะดีขึ้นตามลำดับ คุณแม่สามารถฝึกลูกให้รู้จักตัวอักษรภาษาไทย ด้วยการชี้ไปที่ตัวอักษร แล้วให้ลูกเริ่มชี้นิ้วแล้วลากตามลักษณะของตัวพยัญชนะนั้น ๆ ก็จะเป็นการเริ่มเรียนรู้การเขียนตัวอักษรได้ เมื่อกล้ามเนื้อมือของลูกน้อยเริ่มแข็งแรงขึ้น จึงค่อยให้ลูกน้อยจับดินสอแล้วเขียนตามรอยประ

 

(แจกฟรี) แบบฝึกเขียน พยัญชนะไทย

  • พยัญชนะ ก – ซ
  • พยัญชนะ ฌ – ถ
  • พยัญชนะ ท – ม
  • พยัญชนะ ย – ฮ

 

แบบฝึกหัดการอ่านสระ

  • เรื่องสระอา
  • เรื่องสระอู
  • เรื่องสระใอ อี
  • เรื่องสระโอ ไอ
  • เรื่องสระอำ อุ
  • เรื่องสระอะ
  • เรื่องสระอิ เอ
  • เรื่องสระออ
  • เรื่องสระเอา
  • เรื่องสระอือ
  • เรื่องสระแอะ อักษร 3 หมู่
  • เรื่องสระแอ เออะ
  • เรื่องสระเอือ เอะ
  • เรื่องสระโอะ เอีย เอือ
  • เรื่องสระอึ เอาะ
  • ตัวสะกดแม่กม
  • ตัวสะกดแม่เกย
  • ตัวสะกดแม่เกอว
  • ตัวสะกดแม่กก
  • ตัวสะกดแม่กด
  • ตัวสะกดแม่กบ
  • สระเอะ โอะ อัว เออ
  • บัญชีคำพื้นฐานอนุบาล

แบบฝึกเสริมทักษะ

  • แบบฝึกจับคู่ภาพกับพยัญชนะไทย
  • จับคู่พยัญชนะไทยกับภาพ
  • สอนภาษาไทยลูก

 

การเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับเด็กในระดับปฐมวัย คุณพ่อคุณแม่ต้องพยายาม อย่าเร่งรัดเขาจนเกินไป เพราะที่จริงเด็กในวัยนี้ ควรพัฒนาทักษะด้านการพูด อ่าน เขียนก่อน ดังนั้น การเรียนการสอนภาษาไทย จึงเป็นเสมือนกิจกรรมหนึ่ง ที่ช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะเหล่านั้น และพัฒนากล้ามเนื้อต่าง ๆ ไปพร้อมกัน

 

 

ที่มา : (taiwisdom) , (charoenpanya)

 

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025
จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025
ล้างจมูกถูกวิธี หายใจโล่ง ลดอันตรายจากฝุ่นได้
ล้างจมูกถูกวิธี หายใจโล่ง ลดอันตรายจากฝุ่นได้
นม UHT รสจืด 5 อันดับ นมโคแท้ 100% แคลเซียมสูง เติมความแข็งแรงให้เด็กๆ ที่แม่ต้องมีติดบ้าน
นม UHT รสจืด 5 อันดับ นมโคแท้ 100% แคลเซียมสูง เติมความแข็งแรงให้เด็กๆ ที่แม่ต้องมีติดบ้าน

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

สอนภาษาอังกฤษ : 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ

แนวคิดสอนลูกตัวน้อยจากหนังดิสนีย์ เรื่อง The Lion King

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Arunsri Karnmana

  • หน้าแรก
  • /
  • การศึกษา
  • /
  • สอนภาษาไทย : 100 เรื่องพ่อแม่ต้องรู้ก่อนลูก 1 ขวบ
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว