TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกสะดือจุ่นแบบนี้ ทำไงดี มีอันตรายหรือเปล่า

บทความ 3 นาที
ลูกสะดือจุ่นแบบนี้ ทำไงดี มีอันตรายหรือเปล่า

คุณแม่หลายท่านอาจมีความกังวลว่าน้องมีอาการสะดือจุ่น โป่ง ปูดมากจนน่ากลัว อาการสะดือจุ่นเช่นนี้มีอันตรายหรือไม่ หมออยากจะอธิบายถึงอาการนี้ว่าคืออะไร และมีอันตรายหรือไม่ค่ะ

ลูกสะดือปูด

ขอบคุณภาพจากคุณแม่ Pa Pa Vasana

ภาวะสะดือจุ่น โป่งนูนชัดเจน ทางการแพทย์เรียกว่า “ไส้เลื่อนที่สะดือ” เรามารู้จักภาวะนี้กันดีกว่าค่ะ

ภาวะสะดือจุ่นในเด็กเกิดจากอะไร?

สะดือจุ่น หรือไส้เลื่อนที่สะดือ ในเด็ก เป็นภาวะที่พบได้ตั้งแต่แรกเกิด เนื่องจากผนังหน้าท้องบางจุดมีความอ่อนแอ ผิดปกติ ซึ่งส่วนมากจะเป็นมาแต่กำเนิด ทำให้ลำไส้ที่อยู่ข้างใต้ไหลเลื่อนทะลักเข้าไปในบริเวณนั้น เกิดเป็นก้อนตุง

อาการแสดงของไส้เลื่อนที่สะดือเป็นอย่างไร?

ไส้เลื่อนที่สะดือจะมีอาการแสดงคือเห็นสะดือจุ่นโป่ง โดยเฉพาะเวลามีแรงดันในช่องท้องสูง เช่น เวลา ร้องไห้หรือไอ
ตอนแรกเกิดบางคนอาจเห็นสะดือจุ่นไม่ชัดเจน เพิ่งมาแสดงอาการชัดเมื่ออายุประมาณ 1-2 เดือนก็ได้ค่ะ

เมื่อสะจือจุ่นมากๆ มีภาวะแทรกซ้อนอะไรได้บ้าง?

ภาวะไส้เลื่อนที่สะดือนี้มักจะไม่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงใดๆ มีรายงานการเกิดการบิดขั้วของลำไส้ซึ่งทำให้เกิดลำไส้อุดตัน ลำไส้เข้าไปติดในช่องท้องแลัวไม่ยุบกลับเป็นปกติ ซึ่งพบได้น้อยมากๆ จะมีอาการคือ ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน บวมและกดเจ็บบริเวณสะดือจุ่น หากเด็กมีอาการดังกล่าวควรรีบไปพบคุณหมอทันทีนะคะ

การรักษาเมื่อลูกสะดือจุ่นมากๆ ทำได้อย่างไร?

ภาวะไส้เลื่อนที่สะดือไม่ต้องทำการรักษาอะไร แค่รอเวลาให้หายได้เองภายในอายุ 2-3 ปี อาจทำการรักษาโดยการผ่าตัดเพื่อความสวยงาม ถ้าอายุ 3-5 ปีแล้วยังไม่หาย หรือขนาดรูของไส้เลื่อนใหญ่กว่า 1.5 เซนติเมตร หรือมีภาวะแทรกซ้อนจากลำไส้เข้าไปติดในช่องท้องแลัวไม่ยุบกลับเป็นปกติ หรือ มีการบิดขั้วของลำไส้ซึ่งทำให้เกิดการอุดตันของลำไส้ค่ะ

หมายเหตุ: การใช้เหรียญปิดสะดือไว้เพื่อรักษาสะดือจุ่น ตามความเชื่อโบราณไม่ได้มีผลช่วยให้หายแต่ประการใด ที่อาการดีขึ้นป็นเพราะภาวะนี้สามารถหายได้เองอยู่แล้วค่ะ

11 สัญญาณที่พ่อแม่ต้องรู้ว่าทารกกำลังสื่อสารอะไร

อาการป่วยของลูกที่ควรรีบไปพบคุณหมอ

บทความจากพันธมิตร
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
รีวิวเจาะลึกนมผง เด่นเรื่องสมอง เสริม DHA และพัฒนาการรอบด้านของเด็ก แถมมีสารอาหารแน่น มาดูกันชัดๆ ว่ากล่องไหน ตอบโจทย์แม่ที่สุด
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
ไม่ใช่แค่ยุงกัด...แต่คือวิกฤต เมื่อ “ไข้เลือดออก” สร้างผลกระทบที่ลึกซึ้งมากกว่าที่คิดในครอบครัว
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

รศ. พญ. รวีรัตน์ สิชฌรังษี

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกสะดือจุ่นแบบนี้ ทำไงดี มีอันตรายหรือเปล่า
แชร์ :
  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

  • ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

    ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ เตือน ของเล่นอันตราย ตุ๊กตาโมนิ หรือ ของเล่นกดสิว แถมเข็มฉีดยา

  • 20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

    20 กิจกรรมเสริม IQ EQ ให้ลูกวัย 3-6 ปี ฉลาด สมาธิดี ควบคุมอารมณ์ได้

  • เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้
    บทความจากพันธมิตร

    เสริมภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อยตั้งแต่วันแรก จุดเริ่มต้นที่คุณแม่สร้างได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว