X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้านดีไหม ?

บทความ 3 นาที
ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้านดีไหม ?

คุณแม่คนเก่งแม้แต่ตอนท้องก็ยังขยันจนถึงใกล้คลอด แต่พอคลอดลูกมาได้อยู่ใกล้ชิด และความผูกพันที่เกิดขึ้นระหว่างแม่ลูก แค่วันลา 90 วันอาจรู้สึกว่ามันน้อยไป

ลาออกจากงานเลี้ยงลูกอยู่บ้านดีไหม ?

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน เป็นเรื่องที่ทำให้คุณแม่หลายท่าน ต่างก็คิดกันอยู่เสมอ สำหรับคุณแม่มือใหม่ ต่างก็หวงวันเวลาที่จะใช้กับลูกน้อยเต็มที่ จนวันลาคลอดที่ได้มา 90 วัน ดูเหมือนจะไม่เพียงพอเอาซะเลย เมื่อใกล้ถึงกำหนดครบกลับไปทำงาน ใจก็อยากอยู่กับลูก หากคุณแม่ยังสับสนว่าจะ ลาออกจากงาน แล้วอยู่บ้านเลี้ยงลูก หรือ จะกลับไปทำงาน แล้วจำเป็นต้องฝากลูกไว้กับญาติผู้ใหญ่ ยิ่งไปกว่านั้น อาจจะต้องให้ลูกเข้าเนอร์สเซอรี่ ตั้งแต่ยังเล็ก นี่คือ เหตุผล ที่อาจทำให้คุณแม่ ตัดสินใจมาเป็นแม่ฟลูไทม์กันง่ายขึ้น

ลาออกจากงานเลี้ยงลูกอยู่บ้าน ดีอย่างไร ?

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน

#มีเวลาดูลูกได้อย่างเต็มที่

หายห่วงเรื่องที่จะฝากใครช่วยเลี้ยงลูก หรือ ต้องพาไปเนอสเซอรี่ ในช่วงเวลาที่จะต้องกลับไปทำงาน ซึ่งการเป็นฟลูไทม์ จะทำให้คุณแม่มีโอกาสดี ๆ ที่ได้เห็นพัฒนาการของลูกน้อยทุกช่วงเวลา ตั้งแต่แรกเกิดจนค่อย ๆ เติบโตผ่านไปแต่ละเดือนอย่างสมวัยในทุก ๆ ก้าว เพราะวัยเด็กมีแค่ครั้งเดียว นี่แหละสิ่งดี ๆ สำหรับแม่ที่เลี้ยงลูกเองจะได้เห็น

#ค่าใช้จ่ายน้อย

การตัดสินใจเลี้ยงลูกอยู่ที่บ้าน จะทำให้คุณแม่ ประหยัดเรื่องค่าเดินทาง ที่ต้องออกไปทำงานนอกบ้าน ค่าเลี้ยงดู ในกรณีที่ต้องฝากลูกไว้กับสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือ ต้องจ้างพี่เลี้ยง ค่าเสื้อผ้า และ เครื่องแต่งตัว ยิ่งคุณแม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก็จะประหยัดค่านม ซึ่งก็ช่วยประหยัดรายจ่ายไปได้อีก

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน

Advertisement

#สามีกลับมาตายรัง

เพราะการมีลูกน้อย คือโซ่ทองคล้องใจ ที่เป็นแรงดึงดูดให้คุณพ่อที่เลิกงานแล้ว ตรงกลับบ้านเพื่อมาหาลูก และ เพื่อมาช่วยคุณแม่เลี้ยงลูกที่ต้องเหนื่อยมาทั้งวัน เจ้าตัวน้อย จึงกลายมาเป็นส่วนที่เติมเต็มความสมบูรณ์ของครอบครัว

#ตัดความรู้สึกผิดที่ไม่มีเวลาให้ลูก

การออกไปทำงานนอกบ้าน อาจทำให้มีเวลาอยู่กับลูกน้อยลง หรือ บางทีกลับมาถึงบ้านลูกก็หลับไปแล้ว ไม่มีเวลาได้เล่น ได้พูดคุยกับเจ้าตัวน้อย ตื่นมาอีกที คุณพ่อคุณแม่ ก็ต้องรีบออกไปทำงาน ไหนจะต้อง ทำงานที่ตัวเองรับผิดชอบ งานบ้าน งานดูแลสามีที่ต้องทำ ทำให้รู้ว่าเวิร์กกิ้งมัมนั้น ต้องสตรองแค่ไหน แต่เมื่อผันตัวเองมาเลี้ยงลูกอยู่บ้าน ปัญหาความวุ่นวายทั้งหมดนี้ ก็จะไม่ทำให้คุณแม่ปวดหัวอีกต่อไป นอกจากเหนื่อยกับการเลี้ยงดูลูกเท่านั้นแหละ

ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้าน มีข้อเสียอย่างไร

อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจลาออกเพื่อเลี้ยงลูกอยู่บ้าน หรือ กลับไปทำงานต่อนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยอีกหลาย ๆ อย่าง การได้เลี้ยงลูกอยู่บ้านเองก็ดี หรือ ทำงานไปพร้อมเลี้ยงลูกไปด้วยก็ดี อาจจะมีข้อที่แตกต่างกัน แต่เชื่อว่าคุณแม่ทุกคนนั้น ก็จะมีวิธีเลี้ยงลูกในแบบฉบับของตัวเอง ที่สร้างให้ลูกเติบโตมาเป็นคนดี มีพัฒนาการที่ดีได้อย่างสมบูรณ์ไม่ต่างกันนะคะ

 

ลงทะเบียนรับการดูแลตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ กับ theAsianparent Thailand ตั้งแต่ช่วงไตรมาสแรก มาติดตามพัฒนาการของลูกอย่างใกล้ชิด ว่าลูกโตขึ้นแค่ไหนกันนะ ไตรมาสที่ 2 มาฟังเสียงลูกน้อย นับว่าหนึ่งวันลูกดิ้นไหมนะ และ ลูกดิ้นวันละกี่ครั้งด้วยแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand นี่เป็นแค่ตัวอย่างกิจกรรมบนแอพพลิเคชั่นในส่วนแรก เพราะคุณแม่จะได้รับการดูแลทั้งอาหารการกินโดยการออกแบบจากผู้เชี่ยวชาญว่าควรทานอะไรบ้างในแต่ช่วงอายุครรภ์ ยาที่เป็นอันตรายชนิดไหนบ้างที่ไม่ควรทาน กิจกรรมใดบ้างที่ทำได้หรือทำไม่ได้ เคล็ดลับการตั้งชื่อลูกอย่างไรให้เป็นมงคลทั้งเด็กหญิง และ เด็กชาย รวมถึง เตรียมแผนการล่วงหน้าถึงอนาคต การเตรียมคลอด การดูแลตนเองหลังคลอด

ที่ครอบคลุมทุกช่วงเวลาที่คุณแม่ต้องการ เพราะ theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่ และ เด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และ ผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่ และ เด็ก โภชนาการแม่ และ เด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และ จิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้ และ มีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

 

 


ที่มา : www.kapook.com

บทความใกล้เคียงที่น่าสนใจ :

คุณแม่ขอแชร์ อยู่บ้านเลี้ยงลูกควรทำอะไรดี ให้มีรายได้เป็นกอบเป็นกำ

อย่าอิจฉากันเลย 11 ข้อดีที่คนเป็นแม่ฟลูไทม์อยากให้รู้

5 สิ่งที่คุณพ่อควรทำ “พ่อที่ดี” คุณก็เป็นได้ไม่ยาก

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • ลาออกจากงาน เลี้ยงลูกอยู่บ้านดีไหม ?
แชร์ :
  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว