X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ให้ลูกเลิกดูดนิ้ว ง่ายนิดเดียว!

บทความ 3 นาที
ให้ลูกเลิกดูดนิ้ว ง่ายนิดเดียว!

ทำอย่างไรดี เมื่อลูกชอบดูดนิ้ว ดูดจนนิ้วเปื่อยเลยก็มี ปกติหรือไม่อย่างไร มีวิธีเลิกหรือไม่มาดูกัน

คุณแม่ไม่ต้องกังวลกันไปนะคะ ลูกดูดนิ้วเป็นเรื่องปกติค่ะ ไม่ได้น่ากลัวหรืออันตรายอย่างไร แต่แน่นอนว่า อาจจะมีข้อเสียที่ส่งผลระยะยาวอยู่บ้าง แต่ก่อนจะไปดูรายละเอียดนั้น คุณแม่ทราบหรือไม่คะว่า สาเหตุที่ลูกดูดนิ้วนั้นมีอะไรบ้าง

  1. รู้สึกเครียดกังวล เบื่อ หงุดหงิด และการดูดนิ้วช่วยทำให้ลูกรู้สึกดีขึ้้น
  2. ลูกทำควบคู่ไปกับพฤติกรรมอื่นเช่น จับหูตัวเอง ใช้นิ้วพันผมเล่น หรือทำในขณะลูบหรือกอดผ้าห่มผืนโปรดหรือผ้าเหม็น เป็นต้น

ลูกดูดนิ้ว เลิกดูดนิ้ว

ได้มีผู้เชี่ยวชาญพบว่า เด็กส่วนใหญ่มักที่จะดูดนิ้วไปตลอดอายุหนึ่งขวบปีแรก และจะเลิกดูดนิ้วไปเองตอนเข้าเรียนชั้นอนุบาลค่ะ และว่ากันว่าผู้ใหญ่ไม่ควรไปบังคับให้ลูกเลิกดูดนิ้วด้วยเช่นกัน เพราะการดูดนิ้วของลูกนั้น มีผลต่อจิตใจพวกเขาเป็นอย่างมาก แต่ทั้งนี้ การดูดนิ้วเรื้อรังก็สามารถนำไปสู่ปัญหาต่าง ๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาการสบฟันหน้าไม่สนิท และฟันหลังสบไขว้เป็นต้น

 

 

วิธีการที่จะให้ลูกดูดนิ้วนั้น ไม่ยากเลยละค่ะ แต่ก่อนอื่น คุณพ่อคุณแม่ต้องช่วยกันสร้างแรงบันดาลใจให้กับลูกก่อน ทำให้ลูกรู้สึกว่า การไม่ดูดนิ้วนั้นดีอย่างไรก่อน และคอยชมและให้กำลังใจเวลาที่พวกเขาทำได้ ของแบบนี้ต้องค่อย ๆ เป็นค่อย ๆ ไปกันนะคะ อย่าไปหักดิบลูกเด็ดขาด และนี่คือวิธีการง่าย ๆ ที่เราเอามาฝากค่ะ

1. หลีกเลี่ยงให้ลูกนอนดูดนิ้ว เพราะลูกอาจจะเผลอดูดนิ้วไปตลอดทั้งคืน และนั่นส่งผลให้เกิดปัญหาฟันสบเปิด และแน่นอนค่ะว่า เมื่อพวกเขาโตขึ้น คุณพ่อคุณแม่ได้พาพวกเขาไปจัดฟันเป็นแน่

2. จับตาดูลูก คุณพ่อคุณแม่ควรที่จะจับตาดูลูกเสมอ และพยายามเบี่ยงเบนความสนใจด้วยการเอาของเล่นใส่มือทั้งสองข้างทันที

3. อย่าดุลูก เข้าใจค่ะว่า คุณพ่อคุณแม่อาจจะหงุดหงิดทุกครั้งที่เห็นลูกดูดนิ้ว แต่ของแบบนี้ต้องใช้เวลานะคะ การพยายามให้ลูกเลิกด้วยอารมณ์และบังคับเขานั้น จะทำให้ลูกไม่เข้าใจ เสียใจ และอาจจะดูดนิ้วหนักกว่าเดิม

4. หารูปเชื้อโรคมาให้ลูกดู วิธีนี้อาจจะเป็นการทำให้ลูกกลัวเสียหน่อย แต่ส่วนใหญ่แล้วก็มักจะได้ผลนะคะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็กที่เริ่มโตและรู้เรื่องแล้ว วิธีการก็คือ บอกเขาว่า นี่คือเชื้อโรคที่อยู่ตามนิ้วของลูก เพราะลูกไม่มีทางรู้เลยว่า สิ่งของหรือของกินที่ลูกจับต้องนั้น ปราศจากเชื้อโรคจริงหรือไม่ ดังนั้น การที่ลูกดูดนิ้วนั่นก็หมายถึง ลูกดูดอมเอาเชื้อโรคเข้าไปในร่างกายด้วย และนั่นก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ลูกไม่สบาย

 

5. ลองใช้วิธีแบบโบราณ สิ่งที่คนสมัยก่อนมักใช้ในการห้ลูกดูดนิ้วนั้นก็คือ การนำบอระเม็ดมาทาที่นิ้วลูก และเมื่อไหร่ก็ตามที่พวกเขาดูดเข้าไป เมื่อนั้นเขาจะได้สัมผัสกับรสชาติของความขม ที่พวกเขาจะรู้สึกเข็ดไปได้เอง โดยที่เราไม่ต้องเหนื่อยเลยละค่ะ

 

อ้างอิง: Huffington Post

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

บทความจากพันธมิตร
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
รวม 5 ที่เรียนภาษาอังกฤษระดับแนวหน้า ตอบโจทย์ทุกช่วงวัย พร้อมเทคนิคเรียนดีที่ไม่ควรพลาด!
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
เปิดโอกาสให้ลูกได้ค้นหาตัวเอง ด้วยเทคนิคการเรียนแบบ Home School
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ

สิ่งที่หมอเด็กอยากบอก เมื่อเด็กเล็กเป็นหวัด

อย่ากังวล ปัญหาเท้าปุกในเด็กเล็กแก้ไขได้

parenttown

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ให้ลูกเลิกดูดนิ้ว ง่ายนิดเดียว!
แชร์ :
  • เด็กทารกดูดนิ้วสื่ออะไร ให้ทารกเลิกดูดนิ้วได้อย่างไร ดูดมากไปไม่ดีนะ

    เด็กทารกดูดนิ้วสื่ออะไร ให้ทารกเลิกดูดนิ้วได้อย่างไร ดูดมากไปไม่ดีนะ

  • ลูกชอบดูดนิ้ว ปล่อยให้ลูกดูดนิ้วดีไหม ทำไมทารกถึงชอบดูดนิ้วตัวเอง

    ลูกชอบดูดนิ้ว ปล่อยให้ลูกดูดนิ้วดีไหม ทำไมทารกถึงชอบดูดนิ้วตัวเอง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • เด็กทารกดูดนิ้วสื่ออะไร ให้ทารกเลิกดูดนิ้วได้อย่างไร ดูดมากไปไม่ดีนะ

    เด็กทารกดูดนิ้วสื่ออะไร ให้ทารกเลิกดูดนิ้วได้อย่างไร ดูดมากไปไม่ดีนะ

  • ลูกชอบดูดนิ้ว ปล่อยให้ลูกดูดนิ้วดีไหม ทำไมทารกถึงชอบดูดนิ้วตัวเอง

    ลูกชอบดูดนิ้ว ปล่อยให้ลูกดูดนิ้วดีไหม ทำไมทารกถึงชอบดูดนิ้วตัวเอง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ