X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

โรคสตีเวนส์จอห์นสันคืออะไร?และทำไมต้องรักษาสุดโหด?

บทความ 3 นาที
โรคสตีเวนส์จอห์นสันคืออะไร?และทำไมต้องรักษาสุดโหด?

โรคสตีเวนส์จอห์นสันคืออะไร ทำไมหนุ่มน้อยรายนี้ ถึงต้องโดนรักษาด้วยวิธีการที่สุดโหดขนาดนี้กัน

เมื่อแมนดี้ ซูซาน สมิธ ต้องรีบมายังโรงเรียนเพื่อต้องรับ ซาชาลี่ ลูกชายของเธอกลับบ้าน ภายหลังจากที่เขาบอกว่า เขาแพ้ไม้โอ๊ค และไม้โอ๊คทำให้เท้าและตาของเขานั้นคันและเหมือนมีน้ำไหลออกมา และมันก็คันมาก ๆ แล้วเขาก็เริ่มมีไข้

โรคสตีเวนส์จอห์นสัน

แมนดี้จึงรีบนำตัวลูกชายเข้าพบคุณหมอ โดยคุณหมอกล่าวว่า มันน่าจะเกิดจากการติดเชื้อของไวรัสชนิดหนึ่งจึงได้จัดยาแก้ปวดให้ แต่ผลปรากฎว่า ยานั้น ไม่ได้ช่วยให้เขาดีขึ้นเลยแม้แต่นิดเดียว อาการของซาชาลี่ นั้นกลับแย่ลง ตาเริ่มบวม ตาของเขาเริ่มแดงและริมฝีปากเริ่มแตก ผื่นแดงขึ้นไปทั่วร่างกาย จนหมอต้องทำการตรวจอย่างละเอียดอีกครั้ง จนพบว่า ซาชาลี่ ป่วยเป็น “โรคสตีเวนส์จอห์นสัน”

Advertisement

ตอนนี้ผิวหนังทั้งหมดของเขาแย่มาก มันลามไปทั่วร่างกายมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ มันเหมือนกับว่า ร่างกายของเขาถูกเผาไหม้ไปทั้งตัว และแย่ที่สุด มันลามไปถึงปอดของเขาแล้ว จนซาชาลี่ ต้องหวีดร้องด้วยความเจ็บปวดหลายต่อหลายครั้ง

โรคสตีเวนส์จอห์นสัน

หมอตัดสินใจรักษาอาการของเขาด้วยวิธีการลอกหนักของเขาออกมาทั้งหมดออกมาและห่อหุ้มด้วยพลาสติกตั้งแต่หัวจรดเท้า ไม่มีใครสามารถบอกได้ว่า การรักษาด้วยวิธีนี้ จะได้ผลกับหนุ่มน้อยคนนี้หรือไม่ แต่ในที่สุด เขาก็ทำได้

“ตอนที่ผมโคม่าอยู่นั้น ผมรู้สึกว่ามีเทวดาคอยคุ้มครองและดูแลผมอยู่ และเขาก็ช่วยเกาหลังให้ผมด้วย เวลาที่ผมรู้สึกคัน” โชคดีของหนุ่มน้อยรายนี้ ที่ร่างกายตอบสนองต่อการรักษาที่สุดโหด จนทำให้เขามีชีวิตรอดมาได้จนถึงทุกวันนี้

ตอนนี้คุณพ่อคุณแม่คงสงสัยกันแล้วสินะคะว่า โรคสตีเวนส์จอห์นสันคืออะไร เรามาทำความรู้จักกับโรคนี้ได้ที่หน้าถัดไปเลยค่ะ

Stevens-Johnson Syndrome คืออะไร?

Stevens – Johnson syndrome คืออาการที่เกิดจากการแพ้อย่างหนัก เนื่องมาจากไวรัสหรือการทานยา และในบางกรณีอาจทำให้ผู้ป่วยถึงตายได้ นับเป็นอาการที่พบได้ไม่บ่อย และจะเกิดในเด็กหรือผู้ใหญ่เพียง 1 คนจาก 500,000 คนเท่านั้น โดยเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชายด้วย

Stevens – Johnson syndrome ทำให้เกิดอาการแผลพุพองบริเวณ ใบหน้า และปากของผู้ป่วย รวมทั้งเปลือกตาด้วย ทั้งยังเป็นอาการที่ไม่สามารถรักษาได้ และ 40% ของผู้ที่มีอาการนี้ ก็ถึงกับเสียชีวิตเลยทีเดียว

หากไม่ได้รับการรักษาอาการ ผู้ป่วยอาจถึงตายได้ โดยวิธีการรักษา คือ

• การหยุดให้ยาที่ผู้ป่วยแพ้หรือเป็นสาเหตุของภาวะนี้ทั้งหมด โดยในบางกรณีผู้ป่วยอาจแพ้ยาธรรมดาทั่วไปอย่างแก้ปวด ลดไข้ก็ได้
• การให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา (IV fluid)
• การทายาสเตียรอยด์เพื่อลดอาการอักเสบที่แผล
• รักษาตามอาการแทรกซ้อนหรืออาการข้างเคียง

*** ทางเราไม่ต้องการระบุยี่ห้อหรือชื่อยา เนื่องจากอาการแพ้ไม่ได้เกิดกับเด็กทุกคนและไม่ได้เกิดจากยาเป็นปัจจัยแค่ เพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการที่บุคคลนั้น ๆ มีภาวะ Stevens – Johnson syndrome อยู่แล้ว ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้น้อยมาก จะเกิดในเด็กหรือผู้ใหญ่เพียง 1 คนจาก 500,000 คนเท่านั้น

ที่มา: GOP News

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

บทความจากพันธมิตร
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
โรคภูมิแพ้ในเด็ก ป้องกันได้ตั้งแต่แรกเกิด ด้วยนมแม่ที่มีคุณสมบัติเป็น H.A. (Hypoallergenic)
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก
พ่อแม่ต้องรู้! วิธีป้องกัน RSV ในเด็ก ช่วยลูกไม่ป่วยหนัก

ผัดผักอย่างถูกวิธี เลี่ยงความเสี่ยงเป็นมะเร็ง!

สัญญาณเตือนโรคอันตราย บอกได้จากประจำเดือน

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • โรคสตีเวนส์จอห์นสันคืออะไร?และทำไมต้องรักษาสุดโหด?
แชร์ :
  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

  • หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

    หมอห่วง เด็ก 0-4 ขวบป่วยโควิดเยอะ ป่วยช่วงนี้ เสี่ยงโควิดสูงกว่าไข้หวัดใหญ่

  • ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

    ลูกเป็นไข้ อาบน้ำได้ไหม วิธีไหนลดไข้เร็วที่สุด

  • เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

    เลี้ยงลูกปลอดภัย กินอย่างไร ไม่เสี่ยง โรคแอนแทรกซ์

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว