X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 87 คุณแม่ท้อง กับ ทันตกรรม

บทความ 5 นาที
100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 87 คุณแม่ท้อง กับ ทันตกรรม100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 87 คุณแม่ท้อง กับ ทันตกรรม

เรื่องใกล้ตัวพ่อกังวลใจ แม่ท้อง กับ ทันตกรรม สามารถทำได้หรือไม่ เคยได้ยินมาว่าเสี่ยงอันตราย แล้วแบบนี้คุณแม่ควรทำ ทันตกรรม หรือไม่

ทันตกรรม คืออะไร ? 

ทันตกรรมแบบทั่วไป จะหมายถึง การตรวจสอบสภาพช่องปากและฟันการทำความสะอาด การทันตกรรมเป็นการรักษาสภาพเหงือกและฟัน เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีแก่ช่องปาก 

 

การตรวจวินิจฉัยโรคทางทันตกรรม 

Dentist

Dentist

การวินิจฉัยโรคทางทันตกรรมนั้น จะตรวจด้วยทันตแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญแต่ละด้าน และมีเครื่องเอกซเรย์ 3 มิติ ที่ทำให้ทันตแพทย์วินิจฉัยได้อย่างแม่นยำและตรงจุดมากขึ้น 

ทำไมต้องตรวจฟัน 

เนื่องจากการตรวจฟันเป็นขั้นตอนเบื้องต้นที่มีความสำคัญที่สุด ทันตแพทย์จะสามารถวิเคราะห์และวางแผนการรักษาได้อย่างแม่นยำและตรงจุด ในบางรายทันตแพทย์จะ X-ray เพื่อวิเคราะห์บางกรณีที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น การหาก้อนเนื้อ การตรวจหาฟันผุตามซอกฟัน 

กี่เดือนถึงจะตรวจฟัน 

แนะนำให้พบทันตแพทย์เพื่อตรวจฟันทุก 6 เดือน เพื่อที่คุณหมอจะเช็คฟันที่เราอาจจะทำความสะอาดไม่ทั่วถึง ถ้าฟันและเหงือกของคุณมีรูปทรงที่ผิดปกติ ไม่ได้เกิดจากอุบัติเหตุ ก็ไม่จำเป็นต้องพบทันตแพทย์อีกเป็นระยะนานถึง 3-6 เดือน 

แต่ถ้าหาก มีกลิ่นปาก เสียวฟัน ปวดฟัน ฟันโยก ควรรีบไปปรึกษาทันตแพทย์ทันที 

ทำไมต้องขูดหินปูน ? 

การขูดหินปูนเป็นวิธีการรักษาทางทันตกรรมที่ช่วยขจัดหินปูน หรือแบคทีเรียบนผิวฟัน ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดฟันผุ กลิ่นปาก มีคราบฟัน หรือ โรคเหงือก เนื่องจากหินปูน เกิดจากคราบจุลินทรีย์ หรือเศษอาหารที่สะสมอยู่ ตามซอกฟันเนื่องจากเป็นบริเวณที่ทำความสะอาดได้ไม่ทั่วถึง ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องขูดหินปูนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสุขภาพช่องปากที่แข็งแรง 

ทำไมหมอขัดฟันให้หลังขูดหินปูหินเสร็จ 

การขัดพื้นผิวฟัน จะช่วยให้ฟันมีผิวที่เรียบเนียนขึ้น ซึ่งนอกจากจะสามารถช่วยให้ฟันดูมีความสวยงามแล้ว ยังช่วยขจัดคราบอาหาร แบคทีเรียและหินปูน จึงเป็นการช่วยลดการเกิดปัญหาทางทันตกรรมได้อย่างง่ายๆ

ทันตกรรมสำคัญต่อคุณแม่ตั้งครรภ์อย่างไร ? 

ตรวจฟัน

ตรวจฟัน

การดูแลสุขภาพช่องฟันมีความสำคัญต่อ คุณแม่ตั้งครรภ์และลูก เนื่องจากทันตแพทย์จะให้คำปรึกษา ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากของคุณแม่ตั้งครรภ์อย่างเหมาะสมในแต่ละราย ทันตแพทย์จะเน้นย้ำให้หญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปาก  และการเลื่อนการรักษาทางทันตกรรมที่จำเป็นออกไป อาจจะส่งผลเสียต่อคุณแม่ตั้งครรภ์และมีผลต่อลูกในท้องอีกด้วย

อายุครรภ์ที่เหมาะสมและการรักษาทางทันตกรรม

ลูกน้อย

ลูกน้อย

การให้การรักษาทางทันตกรรมในช่วงไตรมาสที่ 1 (สัปดาห์)

บทความจากพันธมิตร
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้

ในไตรมาสที่ 1 นั้นเป็นช่วงที่ทารกกำลังสร้างอวัยวะต่างๆ (organogenesis)dHmk การได้รับรังสียา หรือสารที่สามารถทำให้ทารกในครรภ์มารดาเกิดความผิดปกติ (teratogen) ดังนั้นจึงแนะนำให้ทำการรักษาทางทันตกรรมเฉพาะอาการฉุกเฉินเท่านั้น การรักษารากฟันหรือการถอนฟัน อีกทั้งเป็นช่วงที่คุณแม่ตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน แพ้ท้อง อาจเป็นอุปสรรคต่อการรักษา ดังนั้นจึงควรเลื่อนการรักษาที่ไม่ฉุกเฉินไป

ในช่วงไตรมาสที่ 2 หรือ 3 และห้ามใช้ไนตรัสออกไซด์ในช่วงการตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกเนื่องจากทำให้เกิดความเสี่ยงในการแท้งสูงการให้การรักษาทางทันตกรรมในช่วงไตรมาสที่ 2 (สัปดาห์)
ในช่วงไตรมาสที่สองเป็นช่วงที่ทารกในครรภ์มีการสร้างอวัยวะต่างๆสมบูรณ์ การรักษาทางทันตกรรมทั้งแบบฉุกเฉินและไม่ฉุกเฉินสามารถทำได้ รวมถึงการถอนฟัน การรักษารากฟัน
ในช่วงไตรมาสที่ 3 (สัปดาห์)การรักษาทางทันตกรรมในช่วงไตรมาสที่สามควรเป็นหัตถการที่ใช้เวลาเพียงสั้นๆ เนื่องจากการเอนนอน เป็นระยะเวลานานๆจะทำให้หญิงตั้งครรภ์รู้สึกไม่สบายตัว เนื่องจากขนาดของท้องที่ใหญ่กดทับทำให้ความดันโลหิตต่ำ วิเวียนศรีษะได้ จึงควรจัดท่าทางให้เหมาะสม

ในช่วงครึ่งหลังของไตรมาสที่ 3 ควรหลีกเลี่ยงการรักษาที่ไม่ฉุกเฉิน ระมัดระวังเพราะการเกิด aspiration โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 3 เนื่องจากการย่อยอาหารที่ช้าลง ทำให้มี content สะสมเต็มในกระเพราะอาหาร

การดูแลช่องปากสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

อาหารเพื่อสุขภาพ

อาหารเพื่อสุขภาพ

  • ไปพบทันตแพทย์
  • แจ้งทันตแพทย์เกี่ยวกับยาที่ใช้
  • เปลี่ยนยาสีฟันที่เป็นสาเหตุของอาการแพ้ท้อง
  • บ้วนปากอย่างสม่ำเสมอ
  • เสริมแคลเซียม
  • รับประทานวิตามินดีให้มากขึ้น

โรคช่องปากกับคุณแม่ตั้งครรภ์ 

โรคปริทันต์(periodontal disease) โรคเหงือกอักเสบเป็นโรคในช่องปากที่พบได้มากที่สุดในช่วงการตั้งครรภ์

  • โดยมีอาการแสดงตั้งแต่ เหงือกบวมแดงเล็กน้อย จนถึงเหงือกเลือดออกง่ายและเจ็บปวด อาการ ของเหงือกอักเสบจะชัดเจนในช่วงอายุครรภ์ไตรมาสที่ 2 และ 3 และมีความแตกต่างจากเหงือกอักเสบทั่วไป คือ เหงือกอักเสบในหญิงตั้งครรภ์จะมีการตอบสนองด้วยอาการอักเสบที่รุนแรงแม้มีการสะสมของคราบจุลินทรีย์ หรือหินน้ำลายเพียงเล็กน้อย แตกต่างจากโรคเหงือกอักเสบทั่วไป โรคปริทันต์ที่พบมากขึ้นในช่วงตั้งครรภ์เป็นผล จากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนในช่วงตั้งครรภ์ (1, 2) ทำให้เกิดการ กดการทำงานและการตอบสนองของภูมิคุ้มกัน

โรคฟันผุ 

หญิงตั้งครรภ์มักจะมีพฤติกรรมการกินอาหารที่มากขึ้น รวมถึงความเป็นกรดในช่องปากที่เกิดขึ้นภายหลังการอาเจียน หรือกรดไหลย้อน และการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบของน้ำลายที่มีความเป็นกรดที่มากขึ้น ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงในการเกิดฟันผุมากขึ้น

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

ที่มา : https://orthosmilekorat.com/

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :

คนท้องทำฟันได้ไหม

คนท้องอุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน จัดฟันได้ไหม ลูกในท้องจะเป็นอันตรายหรือเปล่า

อันตรายไหม หากคนท้องเดินผ่านเครื่องสแกนร่างกายทุกวัน

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

nantichaphothatanapongbow

  • หน้าแรก
  • /
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • /
  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 87 คุณแม่ท้อง กับ ทันตกรรม
แชร์ :
  • คนท้องทำฟันได้ไหม

    คนท้องทำฟันได้ไหม

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

app info
get app banner
  • คนท้องทำฟันได้ไหม

    คนท้องทำฟันได้ไหม

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

  • ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

    ใจสลาย หมอบอกว่าลูกเสียเพราะเกินกำหนดคลอด สายรกเสื่อม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ