X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อาหารแปรรูปมีอะไรบ้าง ที่คุณควรหลีกเลี่ยง ไม่จำเป็นไม่ควรกิน!

21 Jan, 2015

อาหารแปรรูป 10 ชนิดที่คุณควรหลีกเลี่ยง เป็นอาหารที่มีอันตรายแฝงอยู่แต่กลับสะดวกต่อการบริโภคจนกลายมาเป็นส่วนสำคัญในการดำรงชีวิตของคนเมืองยุคนี้ อาหารแปรรูปที่ว่ามีอะไรบ้างลองมาดูกัน

1. อาหารเช้าธัญพืช

1. อาหารเช้าธัญพืช

หลายคนคิดว่าธัญพืชแบบกล่องนั้นกินดีมีประโยชน์ โดยเฉพาะผู้ปกครองที่มีลูก แต่อาหารเช้า “เพื่อสุขภาพ” เหล่านี้กลับอัดแน่นไปด้วยส่วนประกอบที่เป็นอันตราย ทั้งน้ำตาลฟรุกโตส สีผสมอาหาร ผงชูรส สารเติมแต่งอื่น ๆ หรือแม้กระทั่งฟอร์มัลดิไฮด์ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง อาหารเช้าที่มีรสหวานอร่อยนั้นยิ่งแย่ เพราะอาจมีส่วนผสมของสารให้ความหวานแทนน้ำตาล ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
2. เนยเทียม

2. เนยเทียม

เนยมีประโยชน์ต่อสุขภาพ แต่เนยเทียมหรือมาการีนนั้นตรงกันข้ามโดยสิ้นเชิง เนยเทียมเป็นอาหารแปรรูปที่เป็นภัยต่อสุขภาพมากที่สุดชนิดหนึ่ง มันคือไขมันทรานส์แฟต อีกทั้งยังอุดมไปด้วยสารเติมแต่งซึ่งมีโครงสร้างคล้ายพลาสติก การศึกษาวิจัยพบว่าเนยเทียมสามารถตกค้างอยู่ในร่างกายได้เป็นสิบปี และส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว
3. มันฝรั่งทอดและเฟรนช์ฟราย

3. มันฝรั่งทอดและเฟรนช์ฟราย

อาหารอะไรก็ตามที่ถูกปรุงด้วยความร้อนสูงมักมีสารฟอร์มัลดิไฮด์ตกค้างอยู่ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ยังไม่นับเกลือ สารเติมแต่ง และน้ำมันพืชปริมาณมหาศาลที่ต่างก็เป็นภัยต่อร่างกายทั้งสิ้น มันฝรั่งทอดไม่มีคุณค่าทางอาหารใด ๆ ถ้าคุณอยากกินจริง ๆ เราแนะนำให้ทำเมนูมันฝรั่งเองที่บ้านจะดีกว่า
4. ฮอตดอก

4. ฮอตดอก

ฮอตดอกเป็นอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุภาพอย่างมาก โดยเฉพาะกับเด็ก ๆ และหญิงมีครรภ์ บางประเทศถึงกับกำหนดปริมาณฮอตดอกที่อนุญาตให้เด็กกินได้ เพราะไส้กรอกฮอตดอกนั้นไม่ใช่เนื้อสัตว์ แต่เป็นอาหารแปรรูปซึ่งไม่ได้มีคุณค่าทางโภชนาการใด ๆ และเต็มไปด้วยสารเติมแต่งและผงชูรส
5. น้ำอัดลม หรือเครื่องดื่มกระป๋อง

5. น้ำอัดลม หรือเครื่องดื่มกระป๋อง

อาหารที่บรรจุในกระป๋องต่าง ๆ ต้องเคยผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อ เพื่อให้เก็บรักษาได้นาน กรรมวิธีเหล่านี้ยังทำลายคุณค่าสารอาหารต่าง ๆ จนแทบไม่เหลืออะไรนอกจากน้ำตาลกับน้ำเท่านั้น น้ำผลไม้บางยี่ห้อที่ระบุว่า “ไม่มีน้ำตาล” ยังใส่สารให้ความหวานแทนน้ำตาลซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมากกว่า และสารเคมีอื่น ๆ จากกระบวนการอาหารแปรรูปและบรรจุกล่อง
6. นมพาสเจอร์ไรซ์

6. นมพาสเจอร์ไรซ์

แม้ว่านมจะดูเป็นอาหารที่มีประโยชน์แต่อย่าเพิ่งชะล่าใจไป เพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่บ่งชี้ถึงอันตรายของนมสดพาสเจอร์ไรซ์ กระบวนการพาสเจอร์ไรซ์ทำให้โปรตีนเสื่อมสลายและทำให้คุณค่าทางโภชนาการลดลง สารหยุดการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และฮอร์โมนที่ใส่ในนมเป็นสารก่อมะเร็ง งานวิจัยชิ้นหนึ่งระบุว่านมพาสเจอร์ไรซ์อาจเชื่อมโยงกับภาวะมีบุตรยาก เป็นหนึ่งในอาหารที่คุณอาจอยากหลีกเลี่ยง
7. ป๊อบคอร์น

7. ป๊อบคอร์น

ป๊อบคอร์นทุกชนิดต่างมีผลเสียต่อสุขภาพ โดยเฉพาะป๊อบคอร์นแบบใส่ไมโครเวฟ ซึ่งมีทั้งสารเติมแต่งอาหาร สารกันบูด และน้ำมันที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ข้าวโพดส่วนใหญ่ที่ทำมาผลิตเป็นป๊อบคอร์นเป็นข้าวโพดตัดแต่งพันธุกรรม นอกจากว่าคุณจะหาข้าวโพดอินทรีย์มาทำเองที่บ้าน พยายามหลีกเลี่ยงให้ได้มากที่สุด
8. มิลค์เชค

8. มิลค์เชค

อาจเป็นของโปรดของเด็ก ๆ แต่เราไม่แนะนำอย่างยิ่ง เพราะมิลค์เชคมีส่วนประกอบที่เราอ่านชื่อไม่ออกยาวเป็นหางว่าว ยังไม่นับน้ำตาล นมพาสเจอร์ไรซ์ และสารแต่งกลิ่น แต่งรส และสารกันบูดอื่น ๆ อีกมากมาย
9. ปลาแท่ง

9. ปลาแท่ง

เราพูดได้เต็มปากว่าอาหารแปรรูปย่างปลาแท่งไม่มีส่วนประกอบที่ทำมาจากปลาเลยสักนิด ปลาแท่งที่ว่าสามารถหาซื้อได้ตามแผนกอาหารแปรรูปแช่แข็งตามซุเปอร์มาร์เก็ตและร้านอาหารฟาสต์ฟู้ดต่าง ๆ ซึ่งอุดมไปด้วยไขมัน สารเติมแต่ง และสารกันบูด และแทบจะไม่มีโปรตีนเลย อาจจะเป็นอาหารแปรรูปที่ทำง่ายและเร็ว แต่ปลาแท่งที่คุณนำไปทอดยังอาจเป็นสาเหตุของมะเร็งต่อมลูกหมากอีกด้วย
10. น้ำมันถั่วเหลือง

10. น้ำมันถั่วเหลือง

ใครจะไปเชื่อว่าอาหารแปรรูปอย่างถั่วเหลืองทั่วไปเป็นอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ แต่ถั่วเหลืองมีสารที่ยับยั้งไม่ให้ร่างดูดซึมแร่ธาตุ อีกทั้งยังมีไฟโตเอสโตรเจน ซึ่งทำหน้าที่เหมือนฮอร์โมนเอสโตรเจน ส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของทั้งหญิงและชายโดยการรบกวนระดับฮอร์โมนในร่างกาย น้ำมันถั่วเหลืองยังทำมาจากถั่วเหลืองตัดต่อพันธุกรรม อีกทั้งยังผ่านกรรมวิธีแปรรูปมากมาย ถั่วเหลืองที่ปลอดภัยต่อร่างกายคือชนิดที่ผ่านการหมักแต่ไม่ผ่านการแปรรูป ซึ่งหายากในปัจจุบัน
ถัดไป
img

บทความโดย

Angoon

  • หน้าแรก
  • /
  • โภชนาการ
  • /
  • อาหารแปรรูปมีอะไรบ้าง ที่คุณควรหลีกเลี่ยง ไม่จำเป็นไม่ควรกิน!
แชร์ :
  • ยา 10 ชนิดที่เป็นอันตรายต่อลูกน้อย มีอะไรบ้าง คุณแม่ต้องระวัง

    ยา 10 ชนิดที่เป็นอันตรายต่อลูกน้อย มีอะไรบ้าง คุณแม่ต้องระวัง

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • ยา 10 ชนิดที่เป็นอันตรายต่อลูกน้อย มีอะไรบ้าง คุณแม่ต้องระวัง

    ยา 10 ชนิดที่เป็นอันตรายต่อลูกน้อย มีอะไรบ้าง คุณแม่ต้องระวัง

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ