theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • ประกันชีวิต
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • TAP IDOL

อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน

บทความ 3 นาที
•••
อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คนอันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน

การตั้งครรภ์แฝดทางการแพทย์ถือว่าเป็นความผิดปกติของการตั้งครรภ์ ท้องลูกแฝดอาจมีทารกในครรภ์ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ยิ่งมีจำนวนทารกมากเท่าไรยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของการเสียชีวิตของทารกในครรภ์มากขึ้น

อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน

คุณแม่สงสัย อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน ซึ่งการท้องลูกแฝด ตั้งครรภ์ลูกแฝด (Multiple pregnancy) คือ  มีทารกในครรภ์ของคุณแม่มากกว่า 1 คน อาจมี 2 คน 3 คน 4 คน หรืออาจจะมากกว่านั้น แต่ครรภ์แฝดสอง คือ  การตั้งครรภ์แฝด (Twin Pregnancy) พบได้มากที่สุด และทารกมีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุด ทารกในครรภ์มาก น้ำหนักตัวของทารกจะลดน้อยลงและโอกาสในการรอดชีวิตจะน้อยตามไปลงไปด้วย ขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านร่างกายและการดูแลครรภ์ของแม่ท้องด้วย

ปัจจัยที่ทำให้มีโอกาสตั้งครรภ์แฝด  ได้แก่  กรรมพันธุ์  คือ  คนในครอบครัวมีประวัติตั้งครรภ์แฝด  การใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์  ทำให้เพิ่มโอาสตั้งครรภ์แฝด  เช่น  การทำเด็กหลอดแก้ว  หรือการใช้ยากระตุ้นให้มีการตกไข่ครั้งละหลาย ๆ ฟอง  เป็นต้น

ท้องลูกแฝด ในทางการแพทย์ถือว่าเป็นความผิดปกติของการตั้งครรภ์จึงมีความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากกว่าตั้งครรภ์ปกติ  เช่น  คลอดก่อนกำหนด  ครรภ์เป็นพิษ  ภาวะความดันโลหิตสูง เป็นต้น   แต่อย่างไรก็ตาม คุณหมอมักจะดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น  คุณแม่ไม่ต้องกังวลใจไปนะคะ

อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน

อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน

ตั้งครรภ์ลูกแฝด

คุณแม่ที่ตั้งครรภ์แฝด  กรณีที่ทารกในครรภ์ 1 ใน 2 หรือ 1 ใน 3 เสียชีวิตในขณะที่ตั้งครรภ์ยังไม่ครบกำหนดคลอด  โดยเฉพาะช่วงหลัง 12 – 15  สัปดาห์หรือในช่วงไตรมาสแรก ซึ่งถือว่าท้องยังอ่อน ๆ จะยังไม่มีปัญหา เพราะตัวอ่อนหรือทารกที่เสียชีวิตนั้นจะฝ่อสลายไปเองตามธรรมชาติไม่ส่งผลกระทบหรือผลเสียกับทารกที่ยังมีชีวิตอยู่

แต่ถ้าแฝดคนใดคนหนึ่งเสียชีวิตหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ซึ่งพบได้ร้อยละ 5 ของคุณแม่ตั้งครรภ์แฝดทั้งหมด อาจเกิดปัญหากระทบกับทารกที่ยังมีชีวิตอยู่ เพราะทารกที่เสียชีวิตไปนั้นเปรียบเสมือนสิ่งแปลกปลอมในร่างกายของคุณแม่ และเป็นตัวการสร้างสารที่ทำให้เกิดการแข็งตัวของเลือดที่ผิดปกติได้ ส่งผลให้แม่ท้องแฝดอาจมีเลือดออกผิดปกติ ทำให้เกิดการเจ็บท้องคลอดก่อนกำหนดของทารกที่ยังมีชีวิตอยู่ได้

ความแตกต่างของการเสียชีวิตของฝาแฝดในครรภ์  มีดังนี้

  • ตั้งครรภ์แฝดไข่ใบเดียวกัน ทารกแฝดจะอยู่ในถุงน้ำเดียวกัน การตายของแฝดคนหนึ่งทำให้แฝดที่ยังมีชีวิตเสียเลือด ซีด ความดันโลหิตต่ำ และมีโอกาสเสียชีวิต ร้อยละ 15
  • ครรภ์แฝดจากไข่สองใบ ซึ่งครรภ์แฝดอยู่คนละถุงน้ำ แม้คนที่รอดชีวิตอาจเกิดอันตรายเสียชีวิตได้จากการเสียเลือด หรือการติดเชื้อ แต่มีโอกาสเสียชีวิตน้อยกว่าคือ ร้อยละ 3

การปฏิบัติตนของคุณแม่ท้องแฝดที่สูญเสียลูกไป 1 คน

คำแนะนำของคุณหมอสำหรับคุณแม่ที่ตั้งครรภ์แฝดที่ทารกคนหนึ่งเสียชีวิต  ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อความปลอดภัยสำหรับแม่และทารกที่ยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งคุณหมอจะคอยดูแลเป็นพิเศษ  ข้อสังเกตที่สำคัญสำหรับทารกแฝดที่รอดชีวิต  คือ

  1. สังเกตการเคลื่อนไหว หรือนับลุกดิ้น  ถ้าลูกดิ้นน้อยลงหรือดิ้นผิดปกติต้องรีบมาพบคุณหมอโดยด่วน  คุณแม่บางรายอาจต้องนอนพักที่โรงพยาบาลเพื่อเฝ้าระวังอาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเพื่อความปลอดภัยของแม่และลูกในครรภ์  เช่น  การติดเชื้อในกระแสเลือด  หรือการเสียเลือดมากเกินไป  สังเกตได้จาก  อาการไข้  เกิดอาการเลือดไหลไม่หยุด  เป็นต้น ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยของคุณหมอหากเกิดกรณีดังกล่าวขึ้น
  2. ตรวจโดยการทำอัลตราซาวนด์เพื่อดูรก  น้ำคร่ำ   และตรวจสุขภาพของทารกในครรภ์  คุณหมอจะนัดมาตรวจครรภ์บ่อยครั้งขึ้น
  3. หากคุณหมอตรวจพบความผิดปกติ  อาจพิจารณาให้คลอดทันที  สำหรับวิธีการคลอดคุณแม่สามารถคลอดเองได้ทางช่องคลอด  ถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ว่าต้องผ่าคลอด  เช่น  รกพันคอ  หัวใจของทารกเต้นผิดปกติ  อาการเช่นนี้มักจะต้องผ่าคลอด

บทความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

สูญเสียทั้งแม่และลูกแฝดไป พ่อโพสต์สุดเศร้า แม่เป็นพาหะธาลัสซีเมีย ท้องนอกมดลูก

เคล็ดลับทำลูกแฝดแบบธรรมชาติ พร้อมท่าเซ็กส์ทำลูกแฝด อยากปั๊มทีเดียวแล้วได้หลายคน!

คุณแม่แฝด 3 เล่าประสบการณ์ ท้องลูกแฝด เลี้ยงลูกแฝด โกลาหลน่าดู

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

มิ่งขวัญ เหล่าบุศณ์อนันต์

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • อันตรายหรือไม่ หากลูกแฝดเสียชีวิตในท้อง 1 คน
แชร์ :
•••
  • อยากมีลูกแฝดแบบแม่ชม แม่โอป หมอบอกเลยว่า ตั้งครรภ์แฝด ไม่ง่าย อันตรายกว่าที่คิด!

    อยากมีลูกแฝดแบบแม่ชม แม่โอป หมอบอกเลยว่า ตั้งครรภ์แฝด ไม่ง่าย อันตรายกว่าที่คิด!

  • คุณแม่แฝด 3 เล่าประสบการณ์ ท้องลูกแฝด เลี้ยงลูกแฝด โกลาหลน่าดู

    คุณแม่แฝด 3 เล่าประสบการณ์ ท้องลูกแฝด เลี้ยงลูกแฝด โกลาหลน่าดู

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

    อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

app info
get app banner
  • อยากมีลูกแฝดแบบแม่ชม แม่โอป หมอบอกเลยว่า ตั้งครรภ์แฝด ไม่ง่าย อันตรายกว่าที่คิด!

    อยากมีลูกแฝดแบบแม่ชม แม่โอป หมอบอกเลยว่า ตั้งครรภ์แฝด ไม่ง่าย อันตรายกว่าที่คิด!

  • คุณแม่แฝด 3 เล่าประสบการณ์ ท้องลูกแฝด เลี้ยงลูกแฝด โกลาหลน่าดู

    คุณแม่แฝด 3 เล่าประสบการณ์ ท้องลูกแฝด เลี้ยงลูกแฝด โกลาหลน่าดู

  • การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

    การเก็บสเต็มเซลส์จากทารกแรกเกิดมีประโยชน์จริงไหม?

  • อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

    อันตราย! ตอนท้องควรหลีกเลี่ยงทำงานบ้าน 8 อย่างนี้นะ

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
บทความ
  • สังคมออนไลน์
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • สุขภาพ
  • ชีวิตครอบครัว
  • การศึกษา
  • ไลฟ์สไตล์​
  • วิดีโอ
  • ชอปปิง
  • TAP IDOL
เครื่องมือ
  • ?คอมมูนิตี้สำหรับคุณแม่
  • ติดตามการตั้้งครรภ์
  • ติดตามพััฒนาการของลูกน้อย
  • สูตรอาหาร
  • อาหาร
  • โพล
  • VIP Parents
  • การประกวด
  • โฟโต้บูท

ดาวน์โหลดแอปของเรา

  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • กฎการใช้งานคอมมูนิตี้
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ?ฟีด
  • โพล
เปิดในแอป