theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • COVID-19
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • Project Sidekicks
    • การตั้งครรภ์
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • การสูญเสียทารก
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • สุขภาพ
    • อาการป่วย
    • วัคซีน
    • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ความปลอดภัย
    • มุมคุณพ่อ
  • การศึกษา
    • ข่าวการศึกษา
    • คลีนิกพัฒนาการ
    • เตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน
    • โรงเรียนอนุบาล
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • งานบ้าน
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • ดวงและราศี
    • ดารา-แฟชั่น
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ฟิตเนส
    • อีเว้นท์
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง

อยาก ทำประกันสุขภาพให้ลูก เลือกทำประกันสุขภาพเด็กแบบไหนดี ประกันแบบไหนคุ้มที่สุด

บทความ 5 นาที
แชร์ :
•••
อยาก ทำประกันสุขภาพให้ลูก เลือกทำประกันสุขภาพเด็กแบบไหนดี ประกันแบบไหนคุ้มที่สุด

เด็กเล็กเป็นวัยที่กำลังซุกซน อยากรู้อยากเห็น พร้อมกับร่างกายที่กำลังเติบโต ทำให้เด็กมีโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุและเจ็บป่วยได้อยู่บ่อย ๆ พ่อแม่หลายคนจึงเลือกทำประกันสุขภาพให้ลูกน้อยเพื่อที่ประกันจะได้ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายเวลาที่ลูกเจ็บป่วยและจำเป็นต้องใช้เงินในการรักษาจำนวนมาก

อยาก ทำประกันสุขภาพให้ลูก ไม่ต้องคิดนาน ประกันเด็ก ซื้อได้เลยไม่ต้องรอ

สำหรับคุณพ่อคุณแม่ที่อยากทำประกันสุขภาพให้ลูก อาจมีข้อสงสัยว่า เหตุใดเบี้ยประกันของเด็กเล็กจึงสูงกว่าของเด็กโต ซึ่งความแตกต่างของเบี้ยประกันนี้เอง เป็นสาเหตุให้คุณพ่อคุณแม่บางท่านตัดสินใจรอให้ลูกโตอีกสักนิด เพื่อให้เบี้ยประกันถูกลง จึงค่อยทำประกันให้ลูก ซึ่งจริง ๆ แล้ว สาเหตุที่ทำให้เบี้ยประกันของเด็กเล็กสูงกว่าเด็กโต ทั้ง ๆ ที่โดยส่วนมากเบี้ยประกันจะสูงขึ้นตามอายุของผู้ทำประกันนั้น มีดังนี้ 

  • ระบบภูมิคุ้มกันของเด็กแรกเกิด - 5 ปี ยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์ จึงมีความเสี่ยงที่จะเจ็บป่วยจากโรคต่าง ๆ ได้มากกว่า บ่อยกว่า และหนักกว่าเด็กโต
  • เด็กเล็กยังไม่สามารถดูแลตัวเองได้ จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอุบัติเหตุมากมาย
  • เนื่องจากเด็กวัยนี้ยังไม่สามารถสื่อสารได้ดีเท่าที่ควร ทำให้ไม่สามารถบอกได้ว่าไม่สบายตรงไหน หรือเจ็บป่วยมากน้อยเพียงใด
  • จากสถิติพบว่ายอดเคลมประกันของเด็กเล็กวัยแรกเกิด - 5 ปี มีความเสี่ยงในการเคลมประกันมากกว่าเด็กโต

ด้วยเหตุผลเหล่านี้เอง ส่งผลให้เบี้ยประกันของเด็กวัยแรกเกิด - 5 ปี มีราคาแพงกว่าเด็กโต แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบกับค่ารักษาพยาบาลแต่ละครั้งที่สูงลิบลิ่วแล้ว อาจทำให้คุณพ่อคุณแม่ต้องหันมาพิจารณาความสำคัญในการทำประกันสุขภาพให้ลูกน้อยวันแรกเกิด - 5 ปี กันอย่างละเอียดถี่ถ้วน โดยไม่ต้องรอให้ลูกโต รอให้ลูกป่วย หรือเลือกทำประกันสุขภาพเด็กเล็กที่ค่าเบี้ยถูกลง แต่มีเงื่อนไขไม่ครอบคลุมเมื่อเจ็บป่วยบางโรค และเมื่อลองมองภาพรวมแล้ว การเลือกทำประกันสำหรับเด็กที่ค่าเบี้ยสูงขึ้นอีกนิด แต่คุ้มครองสุขภาพลูกน้อย รวมถึงสุขภาพของคุณพ่อคุณแม่ไปพร้อม ๆ กัน ก็ถือว่าเป็นทางเลือกที่ฉลาดและคุ้มค่า

เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่ตัดสินใจเลือกซื้อประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อยง่ายขึ้น เราได้รวบรวมเทคนิคในการซื้อประกันสุขภาพสำหรับเด็ก มาฝากดังนี้

 

วิธีเลือกซื้อ ประกันสุขภาพสำหรับเด็ก

ทำประกันสุขภาพให้ลูก

  1. ศึกษาแผนความคุ้มครองจากหลาย ๆ บริษัท ดูว่าประกันฉบับนี้คุ้มครองในเรื่องอะไรบ้าง เช่น อุบัติเหตุ เจ็บป่วย ผู้ป่วยใน (IPD*) และผู้ป่วยนอก (OPD*) หรือความคุ้มครองผลประโยชน์อื่น ๆ หรือเอกสารแนบท้ายที่ทางประกันคุ้มครองเพิ่มเติม เช่น ค่าทันตกรรม ค่าดูแลโดยพยาบาลพิเศษ เป็นต้น โดยเลือกตามความต้องการของคุณเองเป็นหลัก
  2. วงเงินคุ้มครองที่เหมาะสม ประกันสุขภาพเด็กโดยทั่วไปจะมีให้เลือกอยู่ 2 แบบ คือ แบบแยกค่าใช้จ่าย และแบบเหมาจ่าย หากคุณต้องการจ่ายเบี้ยน้อยแนะนำให้เลือกความคุ้มครองแบบแยกค่าใช้จ่ายที่สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายตามจริงดีกว่า โดยอาจจะอ้างอิงกับการพาลูกไปหาหมอที่โรงพยาบาลประจำ จากนั้นมาคำนวณค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นเมื่อลูกต้องนอนโรงพยาบาล
  3. ชำระเบี้ยประกันต้องอยู่ในกำลังทรัพย์หรือวงเงินที่เหมาะกับตัวเอง หลายบริษัทสามารถให้คุณเลือกชำระเบี้ยประกันได้ทั้งแบบรายเดือน และรายปี หรือแม้แต่การผ่อนชำระ
  4. เข้าใจระยะเวลารอคอย ระยะรอคอย (Waiting Period) เป็นระยะเวลาที่เกิดขึ้นหลังจากที่คุณทำประกันสุขภาพแล้วรอการอนุมัติกรมธรรม์ เพื่อป้องกันการเรียกค่าสินไหมเกินจากสภาพที่เป็นมาก่อนเอาประกันภัย โดยแต่ละบริษัทจะกำหนดระยะเวลารอคอยแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแผนประกันแต่ละประเภท ดังนั้น ก่อนซื้อควรดูว่ามีระยะรอคอยเท่าไหร่ถึงจะสามารถใช้ได้
  5. เลือกซื้อจากบริษัทนายหน้าหรือตัวแทนที่น่าเชื่อถือ ควรซื้อประกันจากนายหน้า หรือตัวแทนที่มีความจริงใจ ตรงไปตรงมา และสามารถติดต่อได้ง่ายเมื่อต้องการขอคำปรึกษา

 

*IPD หรือ ผู้ป่วยใน คือเงินที่บริษัทประกันจะจ่ายให้เมื่อมีการนอนค้างคืนที่โรงพยาบาล โดยมีค่าห้องกับค่าอาหาร

*OPD หรือ ผู้ป่วยนอก คือเป็นเงินที่ทางบริษัทจะจ่ายแทนสำหรับค่าใช้จ่ายในการไปหาหมอแต่ไม่ได้นอนโรงพยาบาล

 

เมื่อคุณพ่อคุณแม่ทราบถึงวิธีเลือกซื้อประกันสุขภาพเป็นอย่างดีแล้ว theAsianparent จึงขอหยิบประกันสุขภาพเด็กสุดคุ้ม อย่าง ประกันสุขภาพเด็ก Family Care มารีวิวให้คุณพ่อคุณแม่ทราบอย่างละเอียด ดังนี้

 

รีวิว ประกันสุขภาพเด็ก Family Care เลือกที่ใช่ ให้ที่คุ้ม

  • คุ้มครองตั้งแต่ อายุ 1 เดือน 1 วัน
  • เลือกจ่ายได้ทั้งแบบรายเดือน หรือรายปี
  • ค่ารักษาพยาบาล 50,000 บาทต่อปี
  • เจ็บป่วย และเสียชีวิตรับ 50,000 บาท
  • มีให้เลือกแบบผู้ป่วยในอย่างเดียว หรือจะรวมผู้ป่วยนอกด้วย

ทำประกันสุขภาพให้ลูกตารางเบี้ย ประกันสุขภาพเด็ก สุดคุ้ม

ทำประกันสุขภาพให้ลูก

 

สำหรับแผนประกันนี้ ข้อดี คือ ค่าเบี้ยประกันสุขภาพเท่ากันทั้งเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชาย ซึ่งมีความแตกต่างจากแผนประกันอื่น และคุณพ่อคุณแม่ ยังสามารถทำประกันสุขภาพได้เมื่อมีอายุ 20 ปี ขึ้นไป โดยที่เบี้ยประกันสุขภาพของคุณแม่เริ่มต้นที่ 410 บาทต่อเดือน ส่วนคุณพ่อเริ่มต้นที่ 419 บาทต่อเดือน 

 

เงื่อนไขประกัน

  • ประกันภัยแบบปีต่อปี เบี้ยประกันปรับตามช่วงอายุที่เพิ่มขึ้น
  • ไม่สามารถซื้อประกันสุขภาพเฉพาะลูกได้ พ่อหรือแม่ต้องซื้อประกันร่วมด้วย
  • ต้องเลือกผลประโยชน์แบบเดียวกันทั้งครอบครัว เช่น ลูกแผน 1 พ่อหรือแม่ต้องซื้อแผนที่ 1 เช่นเดียวกัน
  • ซื้อได้สูงสุด 1 กรมธรรม์ต่อคน
  • หากซื้อพร้อมกันทั้งพ่อ แม่ ลูก ได้รับส่วนลด 25%

 

ตารางเบี้ยประกันสุขภาพพ่อ แม่ และลูก (ส่วนลด 25%)

ทำประกันสุขภาพให้ลูก

 

ตัวอย่างการเลือกซื้อประกัน

ครอบครัวน้องออมเงิน กำลังจะเปรียบเทียบซื้อประกันระหว่าง “แผน 1” (IPD เท่านั้น) และ “แผน 2” (IPD + OPD)  โดยเลือกชำระเบี้ยประกันแบบรายเดือน และกำลังเทียบว่า “ซื้อประกัน 2 คน (แม่ + ลูก)” กับ “ซื้อประกัน 3 คน (พ่อ + แม่ + ลูก)” แบบไหนคุ้มกว่ากัน

ทำประกันสุขภาพให้ลูกจากตารางข้างต้น จะเห็นว่าการซื้อประกันของลูกพ่วงพ่อและแม่คุ้มกว่า เพราะช่วยให้คุณประหยัดเงินได้ถึง 25% ให้คุณและลูกได้รับความคุ้มครองทั้งครอบครัว

 

ตัวอย่างความคุ้มครองที่ได้รับ

น้องออมเงิน ทำประกันสุขภาพเด็ก Family Care โดยเลือกเบี้ยแบบรายเดือน แผน 1 (IPD เท่านั้น)

ปรากฎว่า ในระหว่างที่ถือกรมธรรม์ น้องป่วยเป็นไข้หวัด ต้องนอนพักรักษาตัวเป็นเวลา 4 วัน

  • ค่าห้อง ค่าอาหาร และค่าบริการ วันละ 2,500 บาท = 10,000 บาท (2,500 x 4)
  • ค่ายาและเวชภัณฑ์ = 8,000 บาท
  • ค่าตรวจรักษา = 4,000 บาท

รวมค่ารักษาตลอด 4 วัน = 22,000 บาท 

 

จากผลประโยชน์ผู้ป่วยใน (IPD)  วงเงิน 25,000 บาท/ครั้ง ไม่เกิน 50,000 บาท/ปี 

น้องออมเงินป่วยครั้งนี้ใช้เงินทั้งสิ้น 22,000 บาท ซึ่งอยู่ในวงเงิน 25,000 บาท = คุณไม่ต้องจ่ายเพิ่ม

ดังนั้น น้องออมเงิน จะมีวงเงินประกันคงเหลือ 28,000 บาท ภายในปีกรรมธรรม์

 

เพราะความเจ็บป่วยเลี่ยงไม่ได้ แต่เราช่วยดูแลลูกน้อยและครอบครัวของคุณได้ อย่ารอให้ลูกป่วยก่อน ...

 

ลงทะเบียน เพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติม 

 

หมายเหตุ

  • ผู้ซื้อควรศึกษาทำความเข้าใจรายละเอียดความคุ้มครองและเงื่อนไขก่อนตัดสินใจทำประกันภัยทุกครั้ง
  • รับประกันโดย บริษัท เอฟดับบริวดี ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท ไทยพาณิชย์ โพรเทค จำกัด เป็นนายหน้าประกันชีวิตในการนำเสนอผลิตภัณฑ์ประกันภัย

 

 

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • การเงิน การวางแผนครอบครัว
  • /
  • อยาก ทำประกันสุขภาพให้ลูก เลือกทำประกันสุขภาพเด็กแบบไหนดี ประกันแบบไหนคุ้มที่สุด
แชร์ :
•••
เมื่อลูกป่วย ในวันที่พ่อแม่ ขาดรายได้  อย่าปล่อยให้ ' เรื่องค่าใช้จ่าย มาเป็นข้อจํากัด
มีบัตรเครดิต หรือไม่ *
  • 14 ประกันสุขภาพเด็ก เปรียบเทียบประกันสุขภาพให้ลูก เลือกตัวไหนดี ตัวไหนคุ้ม

    14 ประกันสุขภาพเด็ก เปรียบเทียบประกันสุขภาพให้ลูก เลือกตัวไหนดี ตัวไหนคุ้ม

  • 'ว่างงาน' ลงทะเบียนขอรับ เงินชดเชย จากประกันสังคม ทำตามวิธีนี้!

    'ว่างงาน' ลงทะเบียนขอรับ เงินชดเชย จากประกันสังคม ทำตามวิธีนี้!

  • เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

    เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

app info
get app banner
เมื่อลูกป่วย ในวันที่พ่อแม่ ขาดรายได้  อย่าปล่อยให้ ' เรื่องค่าใช้จ่าย มาเป็นข้อจํากัด
มีบัตรเครดิต หรือไม่ *
  • 14 ประกันสุขภาพเด็ก เปรียบเทียบประกันสุขภาพให้ลูก เลือกตัวไหนดี ตัวไหนคุ้ม

    14 ประกันสุขภาพเด็ก เปรียบเทียบประกันสุขภาพให้ลูก เลือกตัวไหนดี ตัวไหนคุ้ม

  • 'ว่างงาน' ลงทะเบียนขอรับ เงินชดเชย จากประกันสังคม ทำตามวิธีนี้!

    'ว่างงาน' ลงทะเบียนขอรับ เงินชดเชย จากประกันสังคม ทำตามวิธีนี้!

  • เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

    เงินอุดหนุนบุตร 2564 ลงทะเบียนยังไง ใช้เอกสารอะไร เงินเข้าเมื่อไหร่มาดูกัน

  • 100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

    100 สิ่งที่คุณแม่หลังคลอดต้องรู้ ตอนที่ 5 การดูแลแผลผ่าคลอด ข้อควรระวัง ข้อห้าม

  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การตั้งชื่อลูก
    • โภชนาการระหว่างตั้งครรภ์​
    • การคลอดบุตร
    • หลังคลอดบุตร
  • ช่วงวัยของเด็ก
    • ทารก
    • วัยเตาะแตะ
    • เด็กเล็ก
    • เด็กวัยเรียน
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การเงิน การวางแผนครอบครัว
    • โรงเรียนพ่อแม่
    • เซ็กส์และความสัมพันธ์
  • การตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • นมแม่และนมผง
  • ไลฟ์สไตล์​
    • ข่าว
    • ดวงและราศี
    • กิจกรรมของครอบครัว
    • ดารา-แฟชั่น
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore
  • Thailand
  • Indonesia
  • Philippines
  • Malaysia
  • Sri Lanka
  • India
  • Vietnam
  • Australia
  • Japan
  • Nigeria
  • Kenya
พันธมิตรของเรา
Mama's Choice Partner Brand Logo
© Copyright theAsianparent 2021. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้
  • สังคมออนไลน์
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • ช่วงวัยของเด็ก
  • โภชนาการสำหรับครอบครัว
  • ชีวิตครอบครัว
  • สุขภาพ

ดาวน์โหลดแอปของเรา

google play store
Appstore
  • ติดต่อโฆษณา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ทีม
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดการใช้
  • มาเข้าร่วมกับเรา
เปิดในแอป