X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กู กู กา กา สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น

บทความ 3 นาที
กู กู กา กา สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น

พ่อแม่รู้มั้ย การรับฟังและตอบโต้กับเสียงอ้อแอ้ของลูกน้อยนั้น เป็นการ สื่อสารกับลูก ที่ทำให้ทารกเรียนรู้ภาษาได้เร็วขึ้น ฉลาดขึ้นได้

เสียงพูดอ้อแอของทารกนั้น เป็นความพยายามที่จะพูดกับพ่อแม่ แม้ดูเหมือนว่าจะไม่มีความหมายใด ๆ แต่การที่พ่อแม่พยายาม สื่อสารกับลูก ด้วยการรับฟังและตอบสนองต่อเสียง กู กู กา กา ของเจ้าตัวน้อยจะเป็นปัจจัยที่ช่วยเร่งการเรียนรู้และเพิ่มพัฒนาการของลูกได้ดี

สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น

ข้อมูลจากการศึกษาของมหาวิทยาลัย Iowa และมหาวิทยาลัย Indiana ได้แสดงให้เห็นว่าพ่อแม่ที่แสดงท่าทางสนใจมีการรับฟังและตอบสนองในสิ่งที่ทารกกำลังพูด ทำให้ลูกเรียนรู้ว่าพวกเขาสามารถสื่อสารได้สิ่งนี่แหละที่จะเป็นการกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ภาษาได้เร็วขึ้น

การตอบสนองของแม่นั้นสำคัญอย่างไร

สื่อสารกับลูก

นักวิจัยได้ทำการศึกษากลุ่มของคุณแม่และทารกน้อยที่อายุ 8 เดือนนานกว่า 24 สัปดาห์ พบว่าบรรดาคุณแม่ทั้งหลายมีการตอบสนองต่อลูกน้อยของใน 2 รูปแบบ

  • การตอบสนองแบบเบี่ยงเบน คือการที่คุณแม่จะหันเหความสนใจของลูกน้อยด้วยสิ่งของอื่น ๆ อย่างเช่น ของเล่น หรือสิ่งของอื่น ๆ ในห้อง
  • การตอบสนองแบบให้ความสำคัญ คือคุณแม่จะมีการพูดโต้ตอบ หรือล้อเลียนคำพูดตามลูกน้อย

ผลการศึกษาได้พบว่า ทารกที่มีคุณแม่แสดงการตอบสนองแบบ “ให้ความสำคัญ” พยายามที่จะ “พูด” กับพ่อแม่มากกว่าจะเป็นแค่เพียงการเปล่งเสียงแบบอ้อแอ้ ซึ่งพัฒนาการพูดของทารกเหล่านี้จะดีขึ้นเมื่ออายุ 15 เดือน พวกเขาสามารถสร้างคำพูดและท่าทางได้มากขึ้น

ดังนั้น การที่พ่อแม่สนใจและพยายามสื่อสารกับลูกตั้งแต่ตอนที่ลูกน้อยยังเปล่งแค่เสียงอ้อแอ้ จะเป็นการกระตุ้นพัฒนาการเรียนรู้ของลูกได้อย่างดี ทำให้ลูกเข้าใจในภาษา จดจำคำที่พ่อแม่ และช่วยเสริมทักษะด้านการพูดได้เร็วขึ้น และต่อยอดสู่ความฉลาดให้ลูกน้อยได้มากขึ้นด้วย.

วิธีสื่อสารกับลูกในท้อง แม่จ๋ามีอะไรจะบอกหนูไหม

ช่วงที่อยู่ในระหว่างตั้งครรภ์ หลายท่านคงอาจจะรู้สึกประหลายใจ ตืนเต้น และดีใจ ที่มีอีกหนึ่งชีวิตเติบโตในท้องของคุณ ในช่วงแรกของการตั้งครรภ์นั้น แม่ท้องอาจจะไม่รู้สึกว่ามีอะไรเกิดขึ้นในท้อง แต่เชื่อหรือไม่ครับว่า ลูกสามารถได้ยินคุณจากในท้องและสามารถรับรู้เมื่อคุณเคลื่อนไหวได้อีกด้วย! รู้อย่างนี้แล้ว เรามีวิธีการสร้างปฏิสัมพันธ์สุดสนุกกับลูกน้อยในท้อง เพื่อกระชับความสัมพันธ์ อีกทั้งการสื่อสารกับลูกในท้อง นั้นยังจะช่วยให้ลูกเรียนรู้ได้เร็ว โตขึ้นมาฉลาดได้ตั้งแต่อยู่ในท้องครับ 5 วิธีสื่อสารกับลูกในท้อง จะมีอะไรบ้าง ไปติดตามกันเลย

กู กู กา กา สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น

1. คุยกับลูกในท้อง

ทราบหรือไม่ครับว่า ลูกในท้องนั้น สามารถได้ยินเสียงของคุณได้ เพราะฉะนั้นการคุยกับลูกคือวิธีการที่ดีที่สุดในการเริ่มต้นความสัมพันธ์ระหว่างคุณกับลูก พูดกับลูกว่าคุณกำลังทำอะไร อยากจะโชว์อะไรให้ลูกดู ก็พูดได้เลย คุณอาจทำเสียงประหลาด เดินไปรอบ ๆ แล้วคุยกับตัวเอง เพราะลูกได้ยินเสียงคุณตั้งแต่อยู่ในท้อง และเมื่อลูกเกิดมา ลูกจะจำเสียงคุณได้ และรู้สึกถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นจากการพูดคุยของคุณ อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นพัฒนาการทางสมองได้อีกด้วยครับ

2. อ่านหนังสือให้ลูกฟัง

การอ่านหนังสือให้ลูกฟังเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดีในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกน้อยที่จะเกิดมาเช่นเดียวกับการพูดกับลูกในท้อง คุณสามารถอ่านนิทาน บทกลอน เพลงกล่อมเด็กให้ลูกฟัง และคุณสามารถอ่านออกเสียงทุกอย่างที่คุณต้องการอ่านได้ เพราะนั่นจะทำให้ลูกได้ยินเสียงคุณ และเรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ไปพร้อมกัน!

3. เปิดเพลงให้ลูกฟัง

คุณอาจจะนั่งพร้อมใส่หูฟังที่ท้อง และเปิดเพลงทุกชนิดให้ลูกฟัง ไม่ใช่แค่เพียงเพลงกล่อมเด็กหรือเพลงคลาสสิกเท่านั้น แต่คุณสามารถเปิดเพลงปกติที่คุณฟังเพื่อให้ลูกฟังได้ และเมื่อคุณรู้สึกว่าลูกดิ้น คุณจะสังเกตได้ว่าลูกดิ้นตามเพลงที่เต้นอย่างสนุกสนาน นอกจากนี้ คุณยังสามารถร้องเพลงให้ลูกฟัง เพื่อให้ลูกคุ้นเคยกับเสียงคุณได้เช่นกันครับ!

4. นวดลูก

แม่ใกล้คลอดมักชอบลูบคลำท้องเป็นเรื่องปกติ แต่บางครั้งคุณสามารถนวดให้ลูกด้วยเช่นกัน การนวดเบา ๆ ช่วยให้ผ่อนคลาย และลูกยังรู้สึกสัมผัสของแม่ได้ เมื่อคุณรู้สึกว่าลูกดิ้น คุณจะสังเกตได้ว่าลูกดิ้นตามสัมผัสของคุณ บางครั้งลูกจะดิ้นหากลูกไม่ต้องการให้รบกวน แต่ส่วนใหญ่ลูกจะขยับเข้ามาใกล้สัมผัสการนวดของคุณเสียมากกว่า

5. เล่นจ๊ะเอ๋กับลูกโดยใช้ไฟฉาย

นี่คือเกมที่สนุกที่สุดที่คุณสามารถเล่นกับลูกในท้องได้! คุณอาจจะใช้ไฟฉายฉายไฟลงบนท้อง เพื่อกระตุ้นพัฒนาการด้านการมองเห็น การเล่นแบบนี้ได้ผลดีเมื่อลูกเริ่มดิ้นในท้อง อีกทั้งคุณยังสามารถเห็นลูกเคลื่อนไหวผ่านผิวหนังคุณได้อีกด้วย เด็กจะเห็นแสงไฟฉายเหมือนที่เราเห็นแสงอาทิตย์ระหว่างที่ปิดตา หลายครั้งเด็กจะเคลื่อนไหวตามแสงไป และการเห็นลูกเคลื่อนไหวตามไฟก็สนุกเช่นกัน และจะสนุกว่านั้นถ้าให้พี่ของเด็กเล่นเกมนี้กับน้องที่อยู่ในท้องด้วย!

การสร้างปฏิสัมพันธ์กับลูกในท้องนั้น นอกจากจะช่วยกระชับความสัมพันธ์ในครอบครัวแล้ว ยังช่วยในเรื่องพัฒนาการต่าง ๆ ของลูกน้อยในครรภ์อีกด้วย โดยวิธีการต่าง ๆ ดังที่กล่าวมานั้น คุณแม่สามารถทำตามได้อย่างไม่ยากเลย อีกทั้งยังสนุก และช่วยลดความเครียดของแม่ท้องอีกด้วยนะครับ

กู กู กา กา สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”


ที่มาจาก : sg.theasianparent.com

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

5 วิธีสุดเก๋ สื่อสารกับลูกในท้อง เสริมสร้างสมองตั้งแต่ยังไม่คลอด

ถอดรหัส เสียงร้องไห้ทารก รู้มั้ย? หนูร้องไห้แบบนี้เพราะอะไร

parenttown

บทความจากพันธมิตร
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • กู กู กา กา สื่อสารกับลูก วิธีไหน? ตอบสนองยังไง? ทำให้ทารกฉลาดขึ้น
แชร์ :
  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 59 วิธีการสื่อสารกับลูกในท้อง

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 59 วิธีการสื่อสารกับลูกในท้อง

  • เคล็ดลับสื่อสารกับลูกในท้อง

    เคล็ดลับสื่อสารกับลูกในท้อง

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 59 วิธีการสื่อสารกับลูกในท้อง

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 59 วิธีการสื่อสารกับลูกในท้อง

  • เคล็ดลับสื่อสารกับลูกในท้อง

    เคล็ดลับสื่อสารกับลูกในท้อง

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ