X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ

บทความ 3 นาที
วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม : โดยส่วนใหญ่แล้ว ทารกอายุที่มีอายุตั้งแต่ 1-6 เดือน ที่กินนมแม่เพียงอย่างเดียวนั้น มีความต้องการน้ำนมเฉลี่ยวันละประมาณ 25 ออนซ์ (750 ml) อย่างไรก็ตาม ทารกแต่ละคนนั้น มีความต้องการน้ำนมแม่ไม่เท่ากัน โดยมีปริมาณเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 19-30 ออนซ์ ต่อวัน (570-900 ml) ซึ่งทารกบางคนที่กินน้อยอาจกินแค่วันละ 19 ออนซ์ ส่วนทารกที่กินเก่ง ๆ ก็อาจกินได้มากถึงวันละ 30 ออนซ์เลยก็มี

และจากข้อมูลดังกล่าว เราสามารถนำมาใช้คำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ โดยเฉพาะสำหรับคุณแม่ที่ต้องกลับไปทำงานได้ ซึ่งวิธีการก็คือ นำ 25 หารด้วยจำนวนมื้อที่ทารกกิน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าลูกดูดนมแม่วันละ 8 ครั้ง ปริมาณน้ำนมต่อมื้อที่ควรจะเตรียมก็คือ 3 ออนซ์ (25/8 = 3.1) นั่นเองครับ

วิธีคำนวณปริมาณน้ำนม

ให้ลูกกินนมมากไป ระวัง Overfeeding

คุณแม่หลายคนอาจจะคิดว่า หากให้ทารกแรกเกิดกินนมมากขึ้นในแต่ละครั้งที่ให้นม ก็ทำให้กระเพาะขยายได้เร็วขึ้น ซึ่งนั่นก็เป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องนัก การพยายามให้ทารกกินนมเพิ่มขึ้นนั้นอาจทำให้ทารกได้รับน้ำนมมากเกินไป หรือ Overfeeding ทำให้ลูกงอแง แหวะนม หรืออาเจียนออกมา เพราะว่านมล้นกระเพาะ หรืออาจนำไปสู่นิสัยการกินที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และนำไปสู่สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคอ้วนในภายหลังได้

ดังนั้น คุณแม่จึงควรให้ทารกเริ่มกินนมจำนวนน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง เพื่อสร้างนิสัยการกินที่ดีต่อสุขภาพให้กับลูกน้อยตั้งแต่แรกคลอด และหากคุณแม่ให้ลูกดูดนมบ่อย ๆ ทุก 2-3 ชั่วโมง ยิ่งดูดบ่อย ร่างกายของคุณแม่ก็จะยิ่งผลิตน้ำนมมากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ต้องกลัวน้ำนมจะไม่เพียงพอสำหรับลูกเลยครับ

หรือหากคุณแม่ท่านไหนที่ยังกังวลเรื่องปริมาณของน้ำนม น้ำนมมีน้อย ก็ติดตามอ่านวิธีเพิ่มน้ำนมได้จากบทความด้านล่างนี้เลย


ขอบคุณภาพประกอบและข้อมูลจาก breastfeedingthai

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

กินอะไรน้ำนมถึงเยอะ 6 อาหารเพิ่มน้ำนม ที่ช่วยเพิ่มพูนปริมาณน้ำนมแม่ให้ไหลปรู๊ดพุ่งปรี๊ด

ทำงานนอกบ้าน ลูกทานนมแม่ได้สบาย พร้อมเทคนิคเพิ่มน้ำนมไม่ต้องพึ่งยา

ปั๊มนมอย่างไรให้ได้น้ำนม ไม่ต้องกลัวลูกไม่พอกิน

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • วิธีคำนวณปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ
แชร์ :
  • เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

    เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

  • ทำความเข้าใจ ขนาดกระเพาะทารก ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

    ทำความเข้าใจ ขนาดกระเพาะทารก ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

    เทคนิคบำรุงน้ำนม และปริมาณนมของเด็กแรกเกิดที่กินในแต่ละวัน

  • ทำความเข้าใจ ขนาดกระเพาะทารก ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

    ทำความเข้าใจ ขนาดกระเพาะทารก ก่อนคิดว่านมแม่ไม่พอ

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ