X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกรอดจากมะเร็ง แต่ฝันร้ายยังไม่จบ

บทความ 3 นาที
ลูกรอดจากมะเร็ง แต่ฝันร้ายยังไม่จบ

ณ ปัจจุบัน เด็กที่เป็นมะเร็งมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นเยอะ และอายุที่เป็นยิ่งน้อยลงทุกที แค่ลูกหายจากมะเร็งคุณพ่อคุณแม่ก็ดีใจกันแทบแย่แล้ว แต่ฝันร้ายเพิ่งจะเริ่มรึเปล่า

ดอกเตอร์ Kirsten Ness แห่ง St. Jude Children’s Research Hospital ในเมืองเมมฟิส รัฐเทนเนสซี่ อ้างอิงจากสถิติและข้อมูลที่บันทึกไว้เรื่องเด็กๆ ที่เป็นมะเร็ง ว่าคาดหวังว่าเด็กที่มีชีวิตรอดจากโรคมะเร็งแล้ว ก็จะมีชีวิตเหมือนเด็กปกติ แต่ความเป็นจริงแล้ว เด็กๆ จะมีแนวโน้มหรือเป็นโรคเรื้อรังได้มากกว่าญาติพี่น้องและคนทั่วไป

สารเคมีน้อยลง ทำไมผลกระทบยังแย่อยู่ ???

การรักษามะเร็งในช่วงก่อน มีการฉายรังสีและใช้เคมีบำบัดในปริมาณที่ลดลงแล้ว จึงคาดว่าเด็กๆ ที่รอดชีวิตจะได้รับการรักษาที่มีการใช้ยาที่เป็นพิษน้อยลง จะมีสุขภาพที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับเด็กกลุ่มที่ได้รับสารเคมีเข้าไปเยอะ แต่มันก็ไม่เป็นอย่างนั้นค่ะ

ดอกเตอร์เนสส์และทีมวิจัยเปรียบเทียบ เด็กที่มีชีวิตรอดจากโรคมะเร็งจำนวนถึง 14,566 คน พวกเขาได้รับการรักษาโรคมะเร็งในปี 1970 1980 และ 1990 กับพี่น้องของเขาที่ไม่มีประวัติเป็นโรคมะเร็งมาก่อน

หมอตรวจสุขภาพเด็ก

แล้วอะไรที่เป็นสาเหตุ

สัดส่วนของเด็กที่รอดชีวิตจากมะเร็ง ที่มีปัญหาสุขภาพร้ายแรงลดลง ในปี 1970 มีจำนวน 33% และในปี 1990 มีจำนวนน้อยลงเพียง 21% แต่เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กๆ ที่ได้รับการรักษาในปี 1970 กับ 1990 พบว่า เด็กๆ มีสุขภาพที่แย่ลง และมีความวิตกกังวลเกี่ยวโรคมะเร็ง และในปี 1990 เด็กที่รอดชีวิตจากมะเร็งเม็ดเลือดขาว มะเร็งเม็ดเลือด มีสุขภาพโดยรวมที่ไม่ค่อยดีนัก และเด็กที่เคยเป็นมะเร็งกระดูกก็ยังมีอาการปวดอยู่บ้าง

การเปลี่ยนปริมาณการฉายรังสีหรือจำนวนยาที่ให้ไม่ได้มีความสัมพันธ์กับสุขภาพของเด็กๆ ที่รอดชีวิตแต่อย่างใดค่ะ พวกเขามีแนวโน้มที่จะเป็นมีสุขภาพแย่เมื่อสูบบุหรี่ ไม่ออกกำลังกาย มีน้ำหนักที่น้อยไป หรือมีน้ำหนักที่มากไป

สุขภาพแย่ อาจจะมาจากวิถีชีวิตด้วย

นอกจากสุขภาพจะยิ่งแย่ลงไปอีกตามอายุที่มากขึ้น การใช้ชีวิตก็ไม่เหมือนกัน ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตและการดูแลตัวเอง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้อาจจะเป็นตัวที่เร่งปัญหาสุขภาพได้เช่นกันค่ะ

นักวิจัยแนะนำว่าการใช้ชีวิตโดยกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพและออกกำลังกายเป็นประจำ อาจจะช่วยให้ปัญหาสุขภาพลดน้อยลงได้ อีกทั้งยังเป็นการลดความเสี่ยงที่จะเป็นโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง คอเลสเตอรอลสูง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือผิดปกติ ซึ่งอาจจะทำให้เป็นมะเร็งได้ซ้ำอีก รวมไปทั้งการไม่สูบบุหรี่หรือยาสูบต่างๆ ฉีดวัคซีน HPV ทาครีมกันแดดเพื่อป้องกันมะเร็งผิวหนัง รวมไปถึงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งอย่างการตรวจแปปเสมียร์ในผู้หญิงด้วยนะคะ

ที่มา dailymail

 

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

บทความจากพันธมิตร
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
LPR โพรไบโอติก เกรด A กระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ลูกรักแข็งแรงพร้อมเรียนรู้
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
แม่รู้ไหม? พัฒนาการสมอง ของลูกเกิดขึ้นได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เสริมด้วย สารอาหารสมอง และการนอนอย่างมีคุณภาพ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว

11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวพบมากที่สุดในเด็ก

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกรอดจากมะเร็ง แต่ฝันร้ายยังไม่จบ
แชร์ :
  • 11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

    11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

  • ลูกนอนเยอะเกินไป ลูกน้อยวัยทารกนอนมากเกินไปจะเป็นอะไรไหม?

    ลูกนอนเยอะเกินไป ลูกน้อยวัยทารกนอนมากเกินไปจะเป็นอะไรไหม?

  • 9 วิธีบรรเทาอาการเจ็บท้องคลอด วิธีแก้เจ็บท้อง โดยไม่ต้องพึ่งยา

    9 วิธีบรรเทาอาการเจ็บท้องคลอด วิธีแก้เจ็บท้อง โดยไม่ต้องพึ่งยา

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • 11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

    11 สัญญาณเสี่ยง ลูกอาจเป็นมะเร็ง

  • ลูกนอนเยอะเกินไป ลูกน้อยวัยทารกนอนมากเกินไปจะเป็นอะไรไหม?

    ลูกนอนเยอะเกินไป ลูกน้อยวัยทารกนอนมากเกินไปจะเป็นอะไรไหม?

  • 9 วิธีบรรเทาอาการเจ็บท้องคลอด วิธีแก้เจ็บท้อง โดยไม่ต้องพึ่งยา

    9 วิธีบรรเทาอาการเจ็บท้องคลอด วิธีแก้เจ็บท้อง โดยไม่ต้องพึ่งยา

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ