X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ดียังไง โดยเฉพาะเด็กขวบปีแรก

บทความ 3 นาที
ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ดียังไง โดยเฉพาะเด็กขวบปีแรก

เด็กแรกคลอดคนเป็นแม่ย่อมเป็นห่วงธรรมดา จึงอยากให้ ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ เพราะจะได้ดูแลอย่างใกล้ชิด แม่บางท่านอยากแยกห้องนอนกับลูกแล้วอายุเท่าไหร่ล่ะที่เหมาะสม

ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ ดียังไง โดยเฉพาะเด็กขวบปีแรก

การดูแลปกป้องลูกรักเป็นสิ่งสำคัญ พ่อแม่จึงต้องมีการวางแผนถึงวิธีการเลี้ยงดูเขา รวมถึงห้องนอนสำหรับลูกน้อยที่เพิ่งลืมตาดูโลกด้วย แน่นอนว่าพ่อแม่หลายคนเลือกที่จะให้ ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ เพราะสะดวกในการเลี้ยงดู แต่บางคนต้องการให้ลูกแยกห้องนอนไปด้วยเหตุผลหลายๆ อย่าง

 

เน้นที่หกเดือนแรก

สถาบันกุมารเวชอเมริกัน หรือ American Academy of Pediatrics (AAP) แนะนำให้ผู้ปกครองและผู้ที่ดูแลลูกน้อยนอนกับเด็กอย่างน้อย 6 เดือนแรกหรือขวบปีแรก จากงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการนอนร่วมกับลูกน้อยของเขาเป็นเวลาหกเดือนถึงหนึ่งปีจะช่วยลดความเสี่ยงโรคการไหลตาย หรืออาการหลับไม่ตื่นในเด็กทารกลง 50% ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่มาก

 

ให้ลูกอยู่ในสายตา

สิ่งสำคัญที่สุดของการนอนร่วมกับลูกคือ การช่วยลดความเสี่ยงโรคไหลตายในเด็ก โดยการพ่อแม่ต้องให้ลูกน้อยอยู่ในสายตาเสมอ ซึ่งทางสถาบัน AAP ได้แนะนำให้คุณนำลูกมานอนในบริเวณที่สามารถมองเห็นลูกได้ชัดเจน และพ่อแม่สามารถเข้าถึงเขาได้อย่างรสดเร็วเพื่อป้อนนม และปลอบโยนลูกรัก หากพ่อแม่ให้เจ้าตัวน้อยนอนในเปลไว้ที่มุมห้องอาจทำให้คุณไม่สามารถมองเห็นลูกได้มากนัก ควรนำลูกมานอนด้วยใกบ้ๆ ดีกว่า

 

เคล็ดลับของเสียง White Noise

คุณพ่อคุณแม่สามารถใช้พัดลมสำหรับเสียง White Noise (เสียงสีขาว) ในบ้าน ซึ่งจะช่วยปลอบลูกน้อยให้หลับยาวนานยิ่งขึ้น ซึ่งพัดลมแต่ล่ะตัวจะให้เสียงแตกต่างกัน การทำงานของพัดลมมีอยู่ 2 หลักการ คือ มันจะช่วยกลบเสียงรบกวนอื่นๆ และเป็นสัญญาณให้ลูกรู้ว่า เป็นเวลานอนของเขาแล้ว เช่น เวลาที่กำลังจะนำลูกน้อยเข้านอนพ่อแม่ก็จะเปิดพัดลม ไม่เพียงแค่นั้นการใช้พัดลมในห้องนอนของลูกยังช่วยลดคามเสี่ยงของโรคไหลตายในเด็กด้วยเช่นกัน

 

ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่

 

ขอแนะนำสำหรับลูกแฝด

หากพ่อแม่คนไหนมีลูกแฝด ทางสถาบัน AAP แนะนำให้คุณแยกลูกออกจากกัน ให้อยู่สภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เพราะไม่มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าการนอนร่วมกันของเด็กแฝดจะปลอดภัยแต่อย่างใด ดังนั้นแนะนำให้แยกลูกนอนคนล่ะเปล

 

จัดห้องนอนให้ลูกน้อย

เมื่อคุณพ่อคุณแม่พาลูกน้อยมานอนด้วย แน่นอนว่าพื้นที่ในห้องต้องแคบลง ดังนั้นคุณแม่ต้องดูว่าเฟอร์นิเจอร์ชิ้นไหนควรมีไว้ในห้อง ตะกร้าผ้าอ้อมผ้าสำหรับเช็คทำความสะอาด เพื่อจะได้ทำการเปลี่ยนเสื้อผ้าตอนกลางคืนได้ง่าย และบางคนยังเอาผ้าห่มและผ้าเช็ดมาไว้ใกล้ๆ เพื่อจะได้เปลี่ยนทีนอนได้ง่ายๆ จนทำให้ห้องเล็กลงไปอีก

 

พาลูกน้อยเข้านอน

สำหรับบางครอบครัวที่มีลูกคนโตนอนอยู่ด้วย และก็กังวลว่าลูกคนเล็จะตื่นมาร้องไห้โวยวายตอนกลางคืน แต่อยากจะบอกว่าทารกมีความพิเศษอย่างหนึ่งคือ เขาสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็ว หากทารกต้องการจะนอนคนเดียว คุณแม่ต้องรอจังหวะให้ลูกคนโตหลับก่อน ระหว่างนั้นก็คอยปลอบประโลมให้ลูกคนเด็กคล่อยๆ เคลิ้มแล้วค่อยมาพามานอน

 

สำหรับพ่อแม่ที่อยากจะแยกห้องนอนกับลูกควรให้น้องอายุเกิน 1 ปีก่อน แต่บางครอบครัวมองว่าลูกยังเล็กเกินไปที่จะแยกก็สามารถให้นอนด้วยกันได้ บางบ้านกว่าที่ลูกจะแยกนอนกับพ่อแม่ก็เกือบจะเข้ามหาวิทยาลัย หรือมัธยมปลายแล้วจริงไหม

 

ที่มา: verywell

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

แม่นอนกับลูก ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดีในอนาคต

ข้อดีข้อเสียของการให้ลูกนอนกับพ่อแม่

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ลูกน้อยนอนกับพ่อแม่ดียังไง โดยเฉพาะเด็กขวบปีแรก
แชร์ :
  • ข้อดีข้อเสียของการให้ลูกนอนกับพ่อแม่

    ข้อดีข้อเสียของการให้ลูกนอนกับพ่อแม่

  • วิธีสระผมเด็ก สระผมเด็กอ่อน สำหรับพ่อแม่มือใหม่ ที่กลัวการสระผมให้ลูกน้อย

    วิธีสระผมเด็ก สระผมเด็กอ่อน สำหรับพ่อแม่มือใหม่ ที่กลัวการสระผมให้ลูกน้อย

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ข้อดีข้อเสียของการให้ลูกนอนกับพ่อแม่

    ข้อดีข้อเสียของการให้ลูกนอนกับพ่อแม่

  • วิธีสระผมเด็ก สระผมเด็กอ่อน สำหรับพ่อแม่มือใหม่ ที่กลัวการสระผมให้ลูกน้อย

    วิธีสระผมเด็ก สระผมเด็กอ่อน สำหรับพ่อแม่มือใหม่ ที่กลัวการสระผมให้ลูกน้อย

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ