X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ

บทความ 3 นาที
ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ

ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ เพราะการนอนกรนนั้นไม่ได้เป็นเเค่การนอนกรน เเต่มันซ่อนปัญหาไว้อีกมากมาย ส่งผลทางด้านการเรียนรู้อีกด้วย

ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ

ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ การกรนอาจดูเหมือนเรื่องปกติ เเต่ความจริงเเล้วน่าเป็นห่วงค่ะ

ทำไม ลูกถึงนอนกรน

การหายใจเป็นกระบวนการอัตโนมัติที่ควบคุมโดยสมอง การตรวจสอบระดับสารเคมีในเลือดนั้น ทำให้สมองสามารถออกกำลังได้ถ้าการหายใจทำได้อย่างถูกต้อง กลับกันหากการหายใจทำได้ไม่ดี ออกซิเจนที่ไปเลี้ยงสมองน้อยลง ทำให้สมองทำงานได้ไม่ดีค่ะ

อย่าเพิ่งตื่นตกใจไป ถ้าการกลับบ้านวันเเรกลูกก็นอนกรน หรือหายใจเสียงดังเสียเเล้ว เพราะนั่นคือเรื่องปกติของเด็กทุกคนค่ะ สาเหตุเกิดจากอวัยวะอย่าง หลอดลม ยังพัฒนาได้ไม่เต็มศักยภาพ จึงฟังเเล้วดูเหมือนลูกหายใจเเรงจัง หรืออาจจะเหมือนลูกนอนกรนได้ค่ะ

การพัฒนาสำหรับอวัยวะต่างๆ เหล่านี้ ยิ่งลูกโตระบบหายใจก็จะยิ่งทำงานได้ดี เต็มศักยภาพมากขึ้นค่ะ เสียงหายใจหรือเสียงกรนของลูกจะเบาลงเองเมื่อลูกค่อยๆ โตขึ้น

สาเหตุที่ทำให้ลูกนอนกรน

  • ต่อมทอนซิลโต
  • ต่อมอดีนอยด์โต
  • มีน้ำหนักมากเกินมาตรฐาน
  • ระบบทางเดินหายใจผิดปกติ
  • สมองผิดปกติ
  • เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
  • มีความผิดปกติทางพันธุกรรม
  • เป็นโรคปอดเรื้อรัง

close-up-of-toddler-boy-sleeping-beside-father-at-home-20170220105002.jpg-q75,dx720y-u0r1g0,c--

Advertisement

เมื่อลูกนอนกรน เริ่มนิ่งนอนใจไม่ได้

การนอนกรนของลูกจะเริ่มน่าเป็นห่วงเมื่อเวลาผ่านไปเเต่เสียงกรนของลูกยังไม่เบาลงตาม ขั้นตอนเเรกคุณหมอจะตรวจเช็คโพรงจมูกของเจ้าตัวเล็ก จนเเน่ใจว่าไม่มีอะไรไปอุดกั้นอยู่ เนื่องจากบางครั้งเยื่อบุโพรงจมูกของลูกข้างใดข้างหนึ่งอาจจะอุดตั้น หรือต่อมทอนซิลขยายใหญ่ขึ้น ก็เป็นสาเหตุของการกรนได้ค่ะ

คุณหมออาจจะใช้วิธีการตรวจและรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในการนอน หรือที่เรียกว่า Polysomnogram: PSG เพื่อหาสาเหตุเเละเเนวทางการรักษะให้ลูกรักต่อไปค่ะ

สำหรับเด็กๆ ที่นอนกรนนั้น คุณพ่อคุณเเม่อาจสังเกตได้อีกทางหนึ่งนั่นก็คือ จะเป็นเด็กที่ตื่นในช่วงกลางคืนบ่อย เนื่องจากนอนเเล้วหายใจไม่ออก หายใจติดขัด ต้องหายใจทางปาก โดยเด็กๆ ทั้งเพศหญิงเเละเพศชายอาจจะมีอาการนอนกรนได้เท่าๆ กันค่ะ

ปล่อยไว้อาจถึงชีวิต

การนอนกรนของลูกทำให้ลูกนอนหลับไม่สนิท ทำให้ร่างกายของลูกพักผ่อนไม่เต็มที่ เป็นการนอนที่ไม่มีประสิทธิภาพ จนอาจเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ทำให้ระดับของออกซิเจนในเลือดลดลง หัวใจทำงานหนักในการทำหน้าที่สูบฉีดเลือดมากขึ้น หากภาวะนี้เกิดขึ้นนานๆ ลูกจะหัวใจโตเเละอาจอันตรายถึงชีวิตได้

หากปล่อยให้ลูกกรน

มีการศึกษาพบว่าในเด็ก 11,000 คนนั้น เด็กที่กรน หายใจทางปาก หรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับนั้น 50%-90% นั้น อาจจะเป็น ADHD มากกว่าเด็กที่ไม่เคยกรน นอกจากนี้อาจจะมีปัญหาอื่นๆ ตามมา เช่น

  • มีความสนใจลดลง
  • อาจกลายเป็นปัญหาสังคมได้มากขึ้น
  • มีความวิตกกังวลสูงขึ้น
  • มีอาการซึมเศร้าสูงขึ้น
  • ง่วงนอนตอนกลางวัน
  • มีความรู้ความเข้าใจที่ผิดปกติ
  • มีปัญหาด้านความจำ
  • มีปัญหาเกี่ยวกับด้าน EF

ดังนั้นหากลูกมีอาการหรือภาวะนอนกรนนานเกินไป หรือไม่มีท่าทีว่าเสียงกรนจะเบาลงเลย คุณพ่อคุณเเม่ควรพาลูกไปหาคุณหมอเพื่อตรวจร่างกายเเละหาวิธีรักษาต่อไปนะคะ

ที่มา Parenting และ Kidspot

บทความอื่นที่น่าสนใจ

“ไอกรน” โรคอันตรายที่ทำให้เด็กปอดอักเสบ

3 วิธีทำให้ทารกนอนหลับปุ๋ยขึ้นภายใน 1 สัปดาห์

theAsianparent Community

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
Easy Life III เครื่องปั๊มนม Hands-Free จากแบรนด์ไทยอย่าง Attitude Mom ออกแบบเพื่อชีวิตการปั๊มนมของคุณแม่ที่ง่ายขึ้นกว่าเดิมพร้อมการควบคุมการทำงานผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • ลูกนอนกรน อาจไม่ใช่เรื่องที่สามารถนิ่งนอนใจ
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว