X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่

บทความ 3 นาที
ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่

ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่ เพราะผลกระทบที่เกิดขึ้นมาเป็นผลกระทบที่จะเปลี่ยนชีวิตลูกไปทั้งชีวิต

ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่

เพราะ ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่ หาคำตอบในบทความนี้เลยค่ะ

ระหว่างการใช้ยาของเพศชายเเละเพศหญิงนั้นให้ผลที่ต่างกันค่ะ อย่างเช่น การใช้ยาเเอสไพรินเพียงเล็กน้อยในผู้ชายที่เเข็งเเรง จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวาย เเต่สำหรับผู้หญิงไม่ช่วยป้องกันการเกิดหัวใจวายเเต่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเเทน

fetal-development-drugs

เเม่ท้องใช้ยากระทบลูกมากกว่าที่คิด

งานวิจัยพบว่าคุณเเม่ตั้งครรภ์ที่ใช้ยาโอปิดอยด์หรือยาที่ช่วยบรรเทาอาการปวดในช่วงสองเดือนเเรกตั้งครรภ์ จะส่งผลต่อลูก ทำให้เกิดภาวะหลอดประสาทไม่ปิด หรือ NTD ซึ่งมีผลต่อสมองกระดูกสันหลังและไขสันหลังอักเสบของลูก โดยผู้เชี่ยวชาญยังให้ข้อมูลอีกด้วยว่าการใช้าในช่วงเเรกของการตั้งครรภ์จะทำให้ลูกน้อยเสี่ยงเป็น NTD มากขึ้นถึงสองเท่า เเละหากคุณเเม่ตั้งครรภ์ใช้ยาเสพติดอื่นๆ ก็อาจจะทำให้ลูกเป็นโรค NAS ได้เช่นกัน

Advertisement

อ่านเพิ่มเติม NAS อาการขาดยาของทารกแรกเกิด

ภาวะน่าเป็นห่วงในเเม่ตั้งครรภ์

อัตราการเกิดโรค NAS ของเด็กเเรกเกิดระหว่างปี 2543-2552 เพิ่มขึ้นสูงมากจนน่าตกใจ กระทบในเรื่องของค่ารักษาพยาบาลที่สูงมาก เเละเเม้เเต่ยาที่สั่งโดยเเพทย์ก็อาจจะทำให้ลูกในครรภ์เสี่ยงได้เช่นกันค่ะ

opiate-baby

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อะเซตามิโนเฟน (acetaminophen) ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดความล้มเหลวของตับเฉียบพลัน ซึ่งนอกจากนี้ยังมีส่วนทำให้สาเหตุของโรค ADHD ในเด็กมากขึ้น เเละพัฒนากลายเป็นโรคสมาธิสั้นได้ นั่นหมายความว่าคุณเเม่ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาใดๆ ก็ตาม ระหว่างที่ตั้งครรภ์นะคะ เเละหากมีตัวช่วยหรือการรักษาเเบบธรรมชาติ ก็ควรปรึกษาคุณหมอที่ฝากครรภ์ดูก่อนนะคะ

ทางเลือกธรรมชาติได้ผลช้าเเต่ไม่เสี่ยง

หากคุณเเม่มีอาการปวดหลังหรือปวดเมื่อยตามบริเวณต่างๆ ในระหว่างการตั้งครรภ์ ทางออกที่สามารถทำได้ไม่ยาก เเต่มีประสิทธิภาพพอๆ หรือมากกว่าการใช้ยา อย่างเช่น การออกกำลังกายเเละการฝังเข็มสามารถช่วยรักษาอาการปวดหลังส่วนล่างเเละบริเวณกระดูกอุ้งเชิงกราน ทั้งนี้หากคุณเเม่ไม่ใช่คนที่ออกกำลังกายเป็นประจำเเล้วละก็ อย่าลืมปรึกษาคุณหมอที่เชี่ยวชาญ หรือหาผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์กับคุณเเม่ที่กำลังตั้งครรภ์มาก่อนด้วยนะคะ

ที่มา montereybayholistic

parenttown

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ยาปลอดภัยสำหรับเเม่ อาจไม่ปลอดภัยสำหรับลูก เเม่ท้องไม่ควรใช้ยาจริงหรือไม่
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว