X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ยาคลายมดลูก คืออะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 76

บทความ 5 นาที
ยาคลายมดลูก คืออะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 76

ยาคลายมดลูก มีไว้เพื่ออะไร ??? เมื่อมีอายุครรภ์ได้ 28 สัปดาห์ขึ้นไป หรือไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ (เดือนที่ 7 - 9) มดลูกจะเริ่มขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปกติแล้วจะมีลักษณะเป็นก้อนนิ่ม ๆ เมื่อคลำดูก็จะสัมผัสได้ถึงการมีทารกดิ้นอยู่ บางครั้งคุณแม่อาจรู้สึกว่าท้องแข็ง หรือรู้สึกตึงหน้าท้องซึ่งเกิดจากการ หดรัดตัวของมดลูกเป็นครั้งคราว แต่ถ้ารู้สึกท้องแข็งนานเป็น 10 นาทีจึงคลายลง และเป็นต่อเนื่อง 4 - 5 ครั้งเป็นชุด ๆ หรือหากท้องแข็งแล้วมีเลือดออกทางช่องคลอดด้วย ควรรีบไปพบแพทย์ ซึ่งแพทย์อาจจะให้ ยาคลายมดลูก เป็นตัวช่วย

เพลงล้อเลียน

๐ สาเหตุของอาการท้องแข็งในหญิงตั้งครรภ์
แม้อาการท้องแข็ง ในระหว่างตั้งครรภ์ จะไม่ได้เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์ทุกคน  แต่ก็ควรหลีกเลี่ยงปัจจัย ที่อาจทำให้มีอาการท้องแข็งขึ้นไว้ก่อน หากพบว่ามีอาการท้องแข็งในระหว่างตั้งครรภ์ ควรไปพบสูติ - นรีแพทย์ เพื่อวินิจฉัยสาเหตุ และรักษาครรภ์ให้ปลอดภัย จนถึงวันคลอด โดยปกติแล้ว สาเหตุของ อาการท้องแข็ง ของหญิงตั้งครรภ์ที่พบบ่อยคือ

ทารกในครรภ์ดิ้นแรงหรือโก่งตัว
อาการแบบนี้ เป็นอาการท้องแข็งที่พบบ่อยที่สุด คุณแม่ที่ตั้งครรภ์จะรู้สึกท้องแข็งแบบ “บางทีแข็ง บางทีนิ่ม” ซึ่งเกิดจากทารกในครรภ์ดิ้น หรือโก่งตัวชนเข้ากับผนังมดลูก จนทำให้มดลูก เกิดการบีบตัว ทำให้อวัยวะต่าง ๆ ของทารก เช่น ศอก ไหล่ เข่า หัว หรือก้น ปรากฏนูนที่หน้าท้อง ถ้าเป็นส่วนหลังกับก้นดันออก จะทำให้รู้สึกว่า มดลูกเบี้ยวไปข้างหนึ่ง ส่วนอีกข้างหนึ่งจะนิ่มกว่า บริเวณที่รู้สึกเป็นรอยนูนเล็ก ๆ หลายจุด จะเป็นส่วนของมือ และเท้า ภาวะแบบนี้มักไม่เป็นอันตราย เป็นการดิ้นตามปกติของทารกในครรภ์

มดลูกเกิดการบีบรัดตัวขึ้นเองโดยหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ การบีบตัวของมดลูก ที่ไม่พบสาเหตุที่แท้จริง อาจเกิดเพราะมดลูกไม่แข็งแรง มดลูกบีบรัด หรือคุณแม่มีโรคประจำตัวบางอย่าง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ยาคลายมดลูก คืออะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 76

การรับประทานอาหาร อิ่มเกินไป เมื่อรับประทานอาหารมากไป หรือเคี้ยวไม่ละเอียด จนอาหารไม่ย่อย หรือเกิด แก๊สในกระเพาะ อาจทำให้มดลูกบีดรัดตัว เพราะถูกกระตุ้น จากการเบียด ของกระเพาะอาหาร ลักษณะท้องจะตึง หรือแน่นท้อง แต่ไม่ได้ท้องแข็งมาก คุณแม่ที่มีอายุครรภ์มาก แล้วควรกินอาหารที่ย่อยง่าย กินอาหารเป็นมื้อเล็ก ๆ หลาย ๆ มื้อ เคี้ยวให้ละเอียด ดื่มน้ำมาก ๆ และควรขับถ่ายเป็นประจำ อย่าปล่อยให้ท้องผูก

อาการท้องแข็ง ที่ต้องรีบพบแพทย์
หากยังไม่ถึงกำหนดคลอด แต่รู้สึกว่าหน้าท้องที่เคยนิ่มเกิดแข็งขึ้นมา ทั่วท้องจนรู้สึกเจ็บ นั่นคือสัญญาณเตือนว่า มดลูกกำลังบีบตัวหดรัด ให้สังเกตดูว่า ท้องจะแข็งนานประมาณ 10 นาทีต่อครั้ง ติดต่อกัน 4 - 5 ครั้ง เป็นชุด ๆ ลักษณะแบนนี้ หากเกิดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ ท้องแข็งจนรู้สึกแน่น  หายใจไม่สะดวก และอาการไม่หายไป ควรจะรีบพบแพทย์ ให้เร็วที่สุด เพราะหากไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้มดลูกจะบีบตัว จนปากมดลูกเปิด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ ต้องคลอดก่อนกำหนดได้

ดูแลตัวเองอย่างไร ไม่ให้ท้องแข็ง
ไม่ควรกลั้นปัสสาวะ หากปวดปัสสาวะ ให้เข้าห้องน้ำทันที เพราะการกลั้นปัสสาวะนาน ๆ เป็นสาเหตุให้เกิดท้องแข็งได้ เนื่องจากมดลูกที่ใหญ่ขึ้นตามอายุครรภ์ จะถูกกระเพาะปัสสาวะ ที่มีน้ำปัสสาวะอยู่มากเบียดแน่นขึ้น

ยาคลายมดลูก คืออะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 76

ไม่บิดตัวหรือบิดขี้เกียจ การบิดขี้เกียจ หรือบิดตัวเอี้ยวตัว ท่าที่ลักษณะคล้ายกัน ทำให้ช่องท้องมีปริมาตรเล็กลง ความดันในมดลูกสูงขึ้น ทำให้ท้องแข็งได้ ไม่กินอิ่มเกินไป การกินอาหารอิ่มมากไป เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด อาจทำให้เกิดแก๊สในกระเพาะมากกว่าปกติ อาหารไม่ย่อย ซึ่งปกติแล้ว ระบบการย่อยอาหารในหญิงตั้งครรภ์ จะทำงานได้ไม่ดี เหมือนขณะไม่ตั้งครรภ์อยู่แล้ว

ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์ ในช่วงไตรมาสสุดท้าย การมีเพศสัมพันธ์ในบางท่า อาจกระตุ้นให้มดลูก เกิดการบีบตัวซึ่งไม่เป็นผลดี ต่อการตั้งครรภ์ ไม่ควรลูบท้องบ่อย ๆ การลูบท้อง รวมถึงการสัมผัส กับอวัยวะที่ไวต่อการกระตุ้น อย่างบริเวณเต้านม ซึ่งมักถูกสัมผัส ในขณะอาบน้ำทำความสะอาดจะส่งผลให้มดลูกบีบตัวได้

ที่มา :

  1. https://www.tmchnetwork.com/ node / 134
  2. https://www.vibhavadi.com/ fertility /topic.php ? mid = 32572
  3. https://www.komchadluek.net/ news /lifestyle/ 382036

บทความน่าสนใจอื่น ๆ :

  1. ประสบการณ์จริง คลอดก่อนกำหนด ครรภ์เป็นพิษ ลูกอยู่รพ. เกือบ 2 เดือน
  2. 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 82 10 วิธีผ่อนคลาย ท้องให้คุณแม่
  3. คนท้องต้องรู้ ! ท้อง 8 เดือนมีอาการท้องแข็ง ผิดปกติหรือไม่ มาดูกัน !
บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

ammy

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ยาคลายมดลูก คืออะไร 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 76
แชร์ :
  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

  • ภาวะรกเสื่อม 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 66

    ภาวะรกเสื่อม 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 66

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 2 ก่อนฝากครรภ์ คนท้องต้องเตรียมตัวอย่างไร

  • ภาวะรกเสื่อม 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 66

    ภาวะรกเสื่อม 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 66

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ