X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

บทความ 3 นาที
15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด พร้อมเรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับอาการหลังผ่าคลอด แผลผ่าคลอด เมื่อไหร่จะหาย ยกของหนักได้เมื่อไหร่

ภาพผ่าคลอด

15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

1. เตรียมตัวคลอด

ภาพผ่าคลอด

2. เริ่มกระบวนการคลอด

ภาพผ่าคลอด

3. เริ่มลงมีด

ภาพผ่าคลอด

4. ระหว่างคลอด

ภาพผ่าคลอด

5. ดูดน้ำคร่ำ

ภาพผ่าคลอด

6. ศีรษะของทารก

ภาพผ่าคลอด

7. ศีรษะของทารกออกมาแล้ว

ภาพผ่าคลอด

8. อีกนิดนะลูก

ภาพผ่าคลอด

9. ช่วงเวลาที่คุณแม่รอคอย

ภาพผ่าคลอด

10. ตัดสายรก

ภาพผ่าคลอด

11. ได้เวลาทำความสะอาด

ภาพผ่าคลอด

12. นาทีความสุข

ภาพผ่าคลอด

13. ตรวจสุขภาพ

ภาพผ่าคลอด

14. น่ารักน่าชัง

ภาพผ่าคลอด

15. ความสุขของแม่

ภาพผ่าคลอด

16. เย็บแผลผ่าคลอด

15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับอาการหลังผ่าคลอด

ผศ.นพ.เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์ ให้ความรู้เกี่นวกับเรื่องอาการหลังผ่าตัดคลอดบุตรไว้ว่า ในช่วงต้นสูติแพทย์จะมีการสั่งให้ยากระตุ้นการบีบตัวของมดลูกหยดเข้าสู่กระแสเลือดทางหลอดเลือดดำ เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด ยานี้ทำให้มดลูกบีบตัวแรงเพื่อหยุดเลือดที่ออกทางช่องคลอดและขับน้ำคาวปลาออกมา จึงทำให้คุณแม่หลังคลอดมีอาการปวดหน่วงท้องน้อย ลักษณะปวดบีบเป็นพักๆ ร้าวลงหัวหน่าวได้ เมื่อหมดฤทธิ์ยาอาการเหล่านี้จะทุเลาลง หลังจากนั้นในบางช่วงเวลาที่ลูกดูดนมแม่ก็จะมีการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นน้ำนมจากต่อมใต้สมองของแม่ซึ่งมีฤทธิ์กระตุ้นให้มดลูกบีบตัวเพิ่มขึ้นได้

ในช่วง1-2 วันแรก คุณแม่จะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระหลายประการ บางรายมีอาการอืดแน่นท้อง เรอบ่อยจากลำไส้ยังไม่กลับมาทำงานภายหลังการผ่าตัดซึ่งพบบ่อย เมื่อคุณแม่เริ่มฟื้นตัว ลุกเดิน ลำไส้จะกลับมาทำงานได้ดีขึ้นและอืดท้องลดลงเอง นอกจากนี้ช่วงใกล้คลอดจะมีการยืดขยายของเอ็นหรือพังผืดที่ยึดติดกระดูกเชิงกรานและกระดูกหัวหน่าว ส่งผลให้ช่องเชิงกรานขยายขนาดเพื่อรองรับการเบ่งคลอดบุตร บางรายรู้สึกเจ็บที่กระดูกหัวหน่าวได้โดยเฉพาะเวลาเดิน ลุกยืน หรือเปลี่ยนท่าทาง ซึ่งสืบเนื่องมาจากกระดูกอ่อนของหัวหน่าวอักเสบนั่นเอง จะพบได้บ่อยกว่าในรายที่คลอดบุตรเองทางช่องคลอดหรือน้ำหนักตัวระหว่างตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ เมื่อให้นอนพัก ประคบน้ำอุ่น ให้ยาแก้อักเสบ รักษาตามอาการด้วยยาบรรเทาปวด อาการจะดีขึ้นเองตามลำดับ

บางรายอาจมีอาการปวดเสียวบริเวณแผลผ่าตัดได้ โดยทั่วไปใน 1 สัปดาห์แรกหลังผ่าตัดจะเป็นช่วงที่แผลภายนอกเริ่มสมานติดกันสนิทจะยังไม่มีอาการเสียวใดใด ช่วงนี้บาดแผลสามารถโดนน้ำได้แล้ว ต่อมาเมื่อมีการหดรั้งตัวของแผลเพิ่ม จึงเริ่มสร้างรอยแผลเป็น บางรายมีการหนาตัวของแผลเป็นมาก มีแผลเป็นอักเสบแดงทำให้มีอาการเสียวของแผลผ่าตัดได้มาก รักษาได้โดยการใช้ยาป้ายลดรอยแผลเป็นชนิดต่างๆ

แผลผ่าคลอด เมื่อไหร่จะหาย

แผลผ่าตัดคลอดจะใช้เวลาให้บาดแผลภายนอกสมานติดดี ภายใน 1 สัปดาห์ สามารถเปิดแผลและสัมผัสน้ำได้ คุณแม่สาสมารถทำกิจกรรมเบาๆ ทำงานบ้านเล็กน้อยได้ แต่ยังไม่ควรยกของหนักในช่วงเวลานี้ เนื่องจากแผลผ่าตัดหน้าท้องต้องใช้เวลาซ่อมแซมให้มีความแข็งแรงของเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ กลับมาประมาณ 3 เดือน จึงให้เริ่มยกของหนักได้

 

ทำไมคุณแม่ผ่าคลอดยุคนี้ ถึงไม่ต้องกังวลเรื่องสุขภาพของลูกผ่าคลอดมากจนเกินไป เข้ามาอ่าน หรือแชร์ประสบการณ์ของเหล่าคุณแม่ผ่าคลอดด้วยกันได้ที่ คลับแม่ผ่าคลอด (C Section Club)

15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด

 

ที่มา id.theasianparent.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

ผ่าคลอดได้กี่ครั้ง แม่ผ่าคลอด มีลูกได้กี่คน อันตรายไหม และต้องดูแลตัวเองยังไง

ฤกษ์คลอด วันมงคลคลอดบุตรครึ่งปีหลัง 2561 เพื่อดวงชะตาที่ดีที่สุดของลูกน้อย

อาการคนท้องแต่ละเดือน 9 เดือน 9 อาการ แม่ท้องเตรียมรับมือได้เลย!!

บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

P.Veerasedtakul

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • 15 ภาพผ่าคลอด ที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน ลงมีด ดูดน้ำคร่ำ จนลูกคลอด
แชร์ :
  • ปั๊มนมโบราณที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน รู้ไหมว่าการปั๊มนมแม่ มีมานานกว่า 200 ปีที่แล้วเลยนะ

    ปั๊มนมโบราณที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน รู้ไหมว่าการปั๊มนมแม่ มีมานานกว่า 200 ปีที่แล้วเลยนะ

  • เตรียมตัวก่อนผ่าคลอด ต้องรู้อะไร ต้องโกนขนไหม กี่วันแผลจะหาย

    เตรียมตัวก่อนผ่าคลอด ต้องรู้อะไร ต้องโกนขนไหม กี่วันแผลจะหาย

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ปั๊มนมโบราณที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน รู้ไหมว่าการปั๊มนมแม่ มีมานานกว่า 200 ปีที่แล้วเลยนะ

    ปั๊มนมโบราณที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน รู้ไหมว่าการปั๊มนมแม่ มีมานานกว่า 200 ปีที่แล้วเลยนะ

  • เตรียมตัวก่อนผ่าคลอด ต้องรู้อะไร ต้องโกนขนไหม กี่วันแผลจะหาย

    เตรียมตัวก่อนผ่าคลอด ต้องรู้อะไร ต้องโกนขนไหม กี่วันแผลจะหาย

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว