X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง

บทความ 3 นาที
นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็งนมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง

นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง นมเเม่ยังไงก็ปลอดภัยที่สุด เเต่สิ่งที่ทำให้นมปม่ปนเปื้อนได้ ก็มาจากน้ำมือมนุษย์ด้วยกันนี่เเหละค่ะ

นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง

ความจริงเเล้วยังไงนมเเม่ก็ปลอดภัยที่สุด สะอาดที่สุด เเละดีที่สุดต่อลูก เเต่สิ่งที่ทำให้ นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง คืออะไรกันนะ เเล้วคุณเเม่จะต้องระวังตัวยังไงบ้าง 

หากพูดถึงสาร PFASs คงจะไม่มีใครรู้จักนะคะ เเต่ถ้าบอกว่าสารเคมี PFASs กลุ่มนี้ ใช้เพื่อให้วัสดุกันน้ำ จาระบี เเละคราบเปื้อนได้ อีกทั้งยังมีการใช้มาตั้ง 60 ปีมาเเล้ว ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เช่น เสื้อผ้าที่กันน้ำ บรรจุภัณฑ์อาหาร สี เเละสารหล่อลื่น ซึ่งสารเคมีกลุ่มนี้สะสมในเลือด และในร่างกายเเละอยู่ในนานอีกด้วย เเถมยังเป็นพิษต่อระบบสืบพันธ์ ขัดขวางการทำงานของต่อมไร้ท่อ เเละส่งผลให้ภูมิคุ้มกันร่างกายของคนเราผิดปกติ เเถมยังเป็นสารก่อมะเร็งอีกด้วยค่ะ

โดยมีการพบว่า เด็กจำนวนถึง 81 คน ที่เกิดในปี 1997-2000 มีสารเคมีในกลุ่มของ PFASs ปนเปื้อนอยู่ในเลือดถึง 5 ชนิดด้วยกันค่ะ ซึ่งมีการตรวจระดับของสารเคมีกลุ่ม PFASs ตามช่วงต่างๆ เเบบเป็น ตั้งเเต่เกิด ช่วงอายุ 11 เดือน 18 เดือน เเละ 5 ขวบ อีกทั้งยังตรวจคุณเเม่ที่ตั้งครรภ์ในสัปดาห์ที่ 32 อีกด้วยค่ะ

โดยพบว่าเด็กที่กินนมเเม่อย่างเดียว สาร PFASs จะเข้มข้นเพิ่มขึ้นทุกเดือน เดือนละ 20%-30% สารตัวนี้จะลดลงเมื่อเด็กมีการกินนมเเม่สลับกับนมผสม ในกรณีที่เด็กไม่ได้กินนมต่อหรือหย่านม ระดับของสารเคมีก็ยังคงเยอะมากกว่าสารเคมีที่อยู่ในตัวของคุณเเม่อยู่ดี

มีเพียงสารเคมีในกลุ่มของ PFASs ชนิดเดียว perfluorohexanesulfonate ที่ไม่เพิ่มขึ้นจากการให้นมเเม่ เเละหลังจากที่ลูกไม่ได้กินนมเเม่เเล้ว สารเคมีในกลุ่มของ PFASs ทั้ง 5 ชนิด ก็จะลดลง เเม้ว่านมเเม่จะดีที่สุด เเต่ทีมศึกษาเรื่องนี้ก็ยังมีความกังวลว่าสารเคมีเหล่านี้อาจจะมีการส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นได้

ที่มา Sciencedaily

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

จะให้นมแม่ วีคเเรก ต้องรู้อะไรบ้าง

นมแม่ ที่ปั๊มแล้วเก็บได้นานแค่ไหน

parenttown

บทความจากพันธมิตร
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
เช็กเลย 5 คุณสมบัติ แคลเซียมสำหรับคนท้อง แม่ทานง่าย ลูกปลอดภัย ได้ประโยชน์สูงสุด
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
วิธีสังเกตอาการคนท้องและพัฒนาการทารกในครรภ์แต่ละไตรมาส
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
รีวิวจริง มื้อนี้แม่ทำให้ดู ซีรีแล็คจูเนียร์โจ๊ก อร่อยเหมือนรสมือแม่ แถมไม่ใส่น้ำตาลทราย
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้
เตรียมสมองให้พร้อมเสมอ เพื่อการเรียนรู้นอกกรอบ เคล็ดลับความสำเร็จของเด็กเจนอัลฟาที่พ่อแม่ต้องรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • นมแม่ก็ปนเปื้อนได้ เเละมันคือสารก่อมะเร็ง
แชร์ :
  • ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

    ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

  • เช็คให้ชัวร์ก่อนให้นมลูก แม่แชร์ประสบการณ์ ลูกติดเชื้อจนต้องแอดมิท

    เช็คให้ชัวร์ก่อนให้นมลูก แม่แชร์ประสบการณ์ ลูกติดเชื้อจนต้องแอดมิท

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

    ให้นมแม่ ดีอย่างไร?

  • เช็คให้ชัวร์ก่อนให้นมลูก แม่แชร์ประสบการณ์ ลูกติดเชื้อจนต้องแอดมิท

    เช็คให้ชัวร์ก่อนให้นมลูก แม่แชร์ประสบการณ์ ลูกติดเชื้อจนต้องแอดมิท

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ