X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • TAP Awards
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง

บทความ 3 นาที
แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง

แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง เพราะการให้ลูกกินนมแม่ของคนอื่นโดยไม่ผ่านการฆ่าเชื้อนั้น ทำให้ลูกเสี่ยงติดเชื้อร้าย

แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง

แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง นมแม่คืออาหารที่ดีที่สุดของลูกก็จริง แต่นมแม่คนอื่นนั้น อาจไม่ดีที่สุดต่อลูกของเราค่ะ

แพทย์หญิง สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ หรือป้าหมอ ออกมาเตือนด้วยความเป็นห่วง เพราะเห็นคุณแม่นิยมทำกันแพร่หลายใน Facebook โดยเข้าใจผิดว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม

งดให้งดรับกันเอง

การบริจาคนมแม่กันเองโดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ จะไม่ได้รับการฆ่าเชื้อ ทำให้เสี่ยงติดเชื้อเอดส์ โรคติดต่อ โรคติดเชื้อจากขั้นตอนการเก็บปนเปื้อน ลูกแพ้อาหารที่ผ่านทางนมแม่ รับได้เฉพาะน้ำนมจากธนาคารนมแม่เท่านั้นค่ะ เช่น ลูกป่วยอยู่ในไอซียู แต่น้ำนมแม่ยังไม่มา

ถ้าให้ปลอดภัยคือต้องได้รับน้ำนมจากธนาคารนมที่มีการดูแลจัดการเช่นเดียวกับธนาคารเลือด คือ มีการคัดกรองเหมือนกับการบริจาคเลือด มีการซักประวัติถึงความเสี่ยงต่าง ๆ  

สำหรับคุณแม่ที่จะรับบริจาคนมแม่ แนะนำให้คุณแม่แจ้งคุณหมอทารกแรกเกิดที่ดูแลลูกอยู่ให้ช่วยขอน้ำนมแม่จากธนาคารนมแม่ ซึ่งจะให้ฟรีกับกลุ่มทารกที่ป่วยหนักและทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักแค่ 500 กรัม – 1 กิโลกรัม ลำไส้ของเด็กเหล่านี้ไม่สามารถย่อยนมที่ข้ามสายพันธุ์ได้ (เช่น นมวัวหรือนมแพะ)

ลูกแรกเกิดที่ป่วยได้กินแทนนมผง จะช่วยให้ลูกหายป่วยเร็วขึ้นเมื่อเทียบกับเด็กทารกแรกเกิดป่วยที่กินนมผง และเมื่อน้ำนมแม่ตัวเองมาแล้ว ก็ใช้น้ำนมแม่ตัวเองค่ะ

อยากให้ อยากรับ นมแม่ ต้องทำยังไง

สำหรับคุณแม่ที่มีความประสงค์จะบริจาคน้ำนมแม่ ที่ ธนาคารนมแม่ศิริราช กรุณาตรวจสอบเกี่ยวกับคุณสมบัติเบื้องต้นของผู้บริจาคน้ำนมแม่ ก่อนกรอกข้อมูลให้ติดต่อกลับค่ะ

แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง

  1. ท่านมีสุขภาพแข็งแรงไม่ได้กินยาหรือฉีดยาใดๆเป็นประจำ
  2. ท่านมีน้ำนมมากเกินความต้องการของลูกและยินดีบริจาค
  3. น้ำนมที่บริจาคเป็นน้ำนมที่บีบเก็บในช่วงที่บุตรคนปัจจุบันอายุไม่เกิน 6 เดือนหลังคลอด
  4. น้ำนมที่บริจาคเป็นน้ำนมใหม่ หรือมีอายุน้ำนมไม่เกิน 2 เดือนนับจากวันที่บีบเก็บน้ำนม
  5. ท่านยินดีปฏิบัติตามคำแนะนำในการบีบเก็บและการเก็บรักษาน้ำนมแม่ของธนาคารนมแม่ศิริราช
  6. ผลเลือดของท่านที่ตรวจขณะฝากครรภ์ลูกคนปัจจุบันปกติทุกรายการ
  7. ท่านยินดีตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง และยินดีทำซ้ำทุก 2-3 เดือน หากบริจาคน้ำนมอย่างต่อเนื่อง
  8. ท่านยินดีเจาะเลือดเพื่อตรวจภาวะตับอักเสบบี ตับอักเสบซี โรคเอดส์และซิฟิลิส และยินดีให้ตรวจซ้ำทุก 2-3 เดือน
    หากบริจาคน้ำนมอย่างต่อเนื่องคอลอสตรัมไม่ได้ช่วย

และสำหรับ ธนาคารนมแม่รามาธิบดี ขณะนี้ยังมีน้ำนมที่รับบริจาคมาคงเหลือในคลังอยู่มาก ช่วงนี้จึงขอชะลอการรับบริจาคชั่วคราว แต่คุณแม่อาจติดตามได้ในเพจค่ะ

นอกจากนี้ป้าหมอยังออกมาเตือนอีกว่า คุณแม่ต้องไม่หลงเชื่อโฆษณาหลอกลวงในเฟสบุ๊ค ที่บอกว่าให้ลูกทานคอลอสตรัมแล้วจะช่วยเพิ่มความสูงและลดการเป็นภูมิแพ้ ซึ่งไม่เป็นความจริงค่ะ

ทีนี้ก่อนจะบริจาคและรับบริจาคนมแม่จากคุณแม่คนอื่นๆ คุณแม่ก็ต้องคิดให้ถี่ถ้วนมากขึ้นนะคะ เนื่องจากการบริจาคน้ำนมของคุณแม่คนอื่นนั้น ไม่ได้ปลอดภัย 100% ตามที่หลายๆ คนเข้าใจกันคลาดเคลื่อนค่ะ แน่นอนว่านมแม่จากแม่ลูกแท้ๆ ย่อมปลอดภัยที่สุด แต่กับคุณแม่คนอื่นและเด็กคนอื่นนั้น ไม่ปลอดภัยที่สุดนะคะ

ท่ี่มาบางส่วน สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ

บทความที่น่าสนใจ

บริจาคนมแม่เพื่อเด็กป่วย ช่วยเด็กยากไร้ให้เติบโต

ข้อมูลที่ควรรู้ก่อนตัดสินใจ บริจาคหรือรับบริจาคนมแม่

parenttown
บทความจากพันธมิตร
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
แม่รู้มั้ย เสริมภูมิต้านทาน โรคยุคใหม่ ทำได้ตั้งแต่วันแรกของลูก
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • แพทย์เตือน งดรับบริจาคนมแม่ โดยไม่ผ่านธนาคารนมแม่ เสี่ยงติดเชื้อร้ายแรง
แชร์ :
  • บริจาคนมแม่ ต้องทำอย่างไร? ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ บริจาคหรือรับบริจาคนมแม่

    บริจาคนมแม่ ต้องทำอย่างไร? ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ บริจาคหรือรับบริจาคนมแม่

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • บริจาคนมแม่ ต้องทำอย่างไร? ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ บริจาคหรือรับบริจาคนมแม่

    บริจาคนมแม่ ต้องทำอย่างไร? ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ บริจาคหรือรับบริจาคนมแม่

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว