X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม

บทความ 3 นาที
ข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านมข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิง เรามีข้อมูลดี ๆ ที่จะช่วยให้คุณรู้เท่าทันและวิธีป้องกันมาฝาก

ข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม

ข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม

การตรวจเป็นเรื่องสำคัญ

คนที่เป็นมะเร็งเต้านมจะมีโอกาสรอดชีวิตมากที่สุดเมื่อเทียบกับมะเร็งประเภทอื่น ๆ หากตรวจพบตั้งแต่เนิ่น ๆ (ระยะ 1-2) ดังนั้นคุณจึงควรไปตรวจแมมโมแกรมอย่างละเอียดเป็นประจำสม่ำเสมอ คุณควรเริ่มตรวจแมมโมแกรมตั้งแต่อายุ 40 โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณมีประวัติคนในครอบครัวเคยเป็นมะเร็งเต้านม และควรตรวจซ้ำทุก ๆ 2 ปีตั้งแต่อายุ 50 ปีเป็นต้นไป

ระยะระหว่างการตรวจโดยผู้เชี่ยวชาญแต่ละครั้ง คุณควรคอยสังเกตและตรวจหน้าอกด้วยตัวเองที่บ้าน คอยสังเกตว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งผิดปกติกับหน้าอกของคุณหรือไม่ อาจจะเป็นรูปร่างหรือก้อนเนื้อที่ขึ้นผิดปกติ

ความรู้เรื่องอาหารกับมะเร็งเต้านม

รักษาสุขภาพ

สถาบันวิจัยมะเร็งแห่งสหรัฐฯเปิดเผยว่า 40% ของผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านมในสหรัฐฯเป็นกรณีที่สามารถป้องกันได้โดยการกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพและการออกกำลัง

คำอธิบายสำหรับเรื่องนี้คือ การออกกำลังประเภทใดก็ตามสัปดาห์ละ 4 ชั่วโมงจะช่วงลดระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เกิดมะเร็งเต้านม

แพทย์หญิงคลอดีน ไอแซกส์ ประธานหลักสูตรมะเร็งทรวงอกคลินิกประจำศูนย์แพทย์แห่งมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ ระบุว่าผู้หญิงที่มีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นหลังช่วงหมดประจำเดือนเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งเต้านม คุณหมออธิบายว่า “สำหรับผู้หญิงวัยทอง แหล่งฮอร์โมนเอสโตรเจนหลัก ๆ มาจากไขมันในร่างกาย ดังนั้นถ้าคุณอ้วนเกินไป คุณก็จะมีระดับเอสโตรเจนในร่างกายสูงขึ้น ซึ่งอาจกระตุ้นให้เกิดมะเร็งเต้านมได้”

ดังนั้นคุณจึงควรรักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมในทุกช่วงวัย คนที่มีปัญหากับการลดน้ำหนักจะบอกคุณว่า การลดน้ำหนักและดูแลใส่ใจรักษาสุขภาพทำได้ง่ายกว่าตอนคุณอายุยังน้อย เพราะคุณมีทั้งแรงและเวลา

วิธีตรวจเต้านมด้วยตัวเอง

แอลกอฮอล์ก็มีผล

ถ้าคุณชอบดื่มไวน์เป็นประจำ ข่าวนี้อาจจะทำให้คุณเซ็ง มีผลการวิจัยที่ชี้ว่าการดื่มแอลกอฮอล์เป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้คุณเป็นมะเร็งเต้านม ข้อมูลระบุว่าผู้หญิงที่ดื่มแอลกอฮอล์ 2-5 แก้วต่อวัน มีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมมากกว่าคนที่ไม่ได้ดื่ม 1.5 เท่า

ผลวิจัย: ดื่มแอลกอฮอล์เล็กน้อยช่วงตั้งครรภ์ไม่ส่งผลต่อทารก

ประวัติครอบครัว

กรรมพันธุ์ก็เป็นปัจจัยหนึ่งของโรงมะเร็ง ดังนั้นคุณจึงควรรู้ประวัติคนในครอบครัว ผู้หญิงที่มีแม่ ย่า/ยาย หรือพี่น้องของแม่เป็นมะเร็งก่อนอายุ 50 มีความเสี่ยงสูงที่จะมียีน BRCA1 หรือ BRCA2 ซึ่งเป็นยีนที่ทำให้เกิดมะเร็งเต้านม แม้ว่ายีนทั้งสองตัวนี้จะไม่ได้ยืนยันว่าคุณจะเป็นมะเร็งเต้านมแน่นอน 100% แต่มันก็ทำให้คุณมีโอกาสเป็นเพิ่มขึ้นถึง 60%

บทความจากพันธมิตร
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้

แองเจลิน่า โจลี่ผ่าหน้าอก ลดความเสี่ยงมะเร็งเต้านม

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ข้อควรรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม
แชร์ :
  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • 10 ความในใจ จากปากคนเป็นมะเร็งเต้านม

    10 ความในใจ จากปากคนเป็นมะเร็งเต้านม

app info
get app banner
  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • 10 ความในใจ จากปากคนเป็นมะเร็งเต้านม

    10 ความในใจ จากปากคนเป็นมะเร็งเต้านม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ