X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่ แม่ลูกอ่อนควรให้นมลูกแค่ไหนถึงจะเพียงพอ

บทความ 3 นาที
กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่ แม่ลูกอ่อนควรให้นมลูกแค่ไหนถึงจะเพียงพอ

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่ พ่อแม่จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกหิวนมไหม ได้กินนมเพียงพอในแต่ละวันแล้วหรือยัง และพ่อแม่จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกน้อยในแต่ละช่วงวัยต้องกินนมได้เท่าไหร่ถึงจะเพียงพอ

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่ ทารกเมื่อคลอดออกจะมีตัวเล็กมาก แน่นอนว่าอวัยวะและส่วนต่างๆ ของร่างกายก็จะเล็กไปด้วยแม้กระทั้งกระเพาะอาหารของทารก หากเทียบกับสิ่งผลไม้หรือสิ่งของแล้ว กระเพาะของลูกน้อยในช่วงวันแรกหลังคลอดมีขนาดเท่ากับลูกแก้วเท่านั้น จากนั้นก็ขยายใหญ่ขึ้นเท่ากับถั่ววอลนัทเมื่ออายุ 3 วัน เท่ากับแอปปริคอต เมื่ออายุได้ 7 วัน และมีขนาดเท่ากับไข่ไก่เมื่ออายุได้ 30 วัน

เมื่อกระเพาะอาหารของทารกมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ คราวนี้คุณแม่จะรู้ได้อย่างไรว่าต้องให้นมลูกเท่าไหร่ถึงจะเพียงพอในแต่ละช่วงอายุ ลองมาดูกันค่ะ

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่

ขนาดกระเพาะทารก

1.เดือนแรกหลังคลอด

ในสองสามวันแรกหลังคลอด ทารกจดื่มนมได้น้อยมากเพียงแค่ประมาณ 1 ออนซ์ แต่เมื่อทารกโตขึ้นได้ 2-3 สัปดาห์เด็กจะดื่มนมได้ถึง 10-12 ออนซ์ พออายุได้ 4 สัปดาห์ ลูกน้อยจะกินนมได้ถึง 25-30 ออนซ์ เป็นแบบนี้ไปเรื่อยๆ

2. 1-6 เดือน หลังคลอด

หนูน้อยในวัยนี้จะดื่มนมได้เฉลี่ย 25 ออนซ์ (ตั้งแต่ 21 ถึง 30 ออนซ์) ไปจนกระทั่งอายุครบ 6 เดือน หากคุณแม่รู้สึกว่าให้ลูกกินนมทุกวัน ทำให้ลูกตัวเล็กเปลี่ยนไปให้นมชงดีไหม ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้แนะว่าปริมาณการดื่มนมแม่ในช่วง 6 เดือนแรก จะไม่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มน้ำหนักลูก แต่ในนมมีสารอาหารที่จำเป็นต่อลูก หากคุณแม่เห็นว่าลูกยังตัวเล็กเกินไป ควรรอให้อายุครบ 6 เดือนก่อน แล้วเสริมด้วยอาหารเสริมจะดีที่สุดค่ะ

3.หลัดคลอด 6 เดือนขึ้นไป

เด็กบางคนพ่อแม่เริ่มที่จะให้ลูกหย่านมแล้ว เด็กในวัยนี้ส่วนใหญ่จะกินนมได้ถึง 30 ออนซ์ พอเข้าสู่เดือนที่ 7-8 ลูกน้อยจะกินนมลดลงเหลือประมาณ 19 ออนซ์ ซึ่งพ่อแม่ไม่ต้องตกใจนะคะ สาเหตุก็เพราะว่าเด็กเริ่มกินอาหารแข็งแล้วค่ะ และถ้าลูกกินอาหารได้มาก การกินนมในแต่ละวันก็จะลดน้อยลงไปเองค่ะ

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่

กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่

แม่ควรให้นมลูกบ่อยแค่ไหนในแต่ละวัน

ในช่วง 2-3 สัปดาห์แรกหลังคลอด คุณแม่ควรให้นมลูกบ่อยๆ หน่อยค่ะ ประมาณ 8-12 ครั้งต่อวัน หรือ 3-4 ชั่วโมง ให้นมลูก 1 ครั้ง เนื่องจากกระเพาะอาหารของน้องมีขนาดเล็ก แถมนมแม่ยังย่อยได้ง่ายกว่านมชงอีกด้วย แต่พอลูกน้อยโตขึ้นกระเพาะอาหารขยายขึ้น ความจุของกระเพาะก็จะมากขึ้นตาม ทำให้คุณแม่สามารถลดความถี่ในการป้อนนมลงให้เหลือเพียง  7 ครั้งต่อวันในช่วง 1-2 เดือนแรกค่ะ

จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกหิวนม

คุณแม่จะรู้ได้ว่าลูกหิวหรือไม่จากสัญญาณที่ทารกส่งมา นั่นคือ การร้องไห้ค่ะ แต่การส่งเสียงร้องแบบนี้ไม่ดีแน่ๆ เพราะว่าลูกอาจไม่ได้หิวเสมอไป บางครั้งลูกอาจจะเบื่อ ต้องการความรัก หรืออยาาให้พ่อแม่สนใจก็ได้ ทางที่ดีต้องให้นมลูกก่อนที่ลูกจะร้องไห้จะดีกว่าค่ะ แม่จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกหิว ลองมาดูสัญญาณเตือนกันค่ะ

  • ลูกน้อยมีการเคลื่อนศีรษะไปทางซ้ายและขวา
  • ลูกน้อยกระสับกระส่าย ดิ้นไปดิ้นมา
  • ลูกน้อยเปิดปากบ่อยๆ หรือกำลังทำท่าดูดนม หรือใช้ลิ้นเลียริมฝีปาก
  • ลูกน้อยพยายามเอากำปั้นหรือนิ้วหัวแม่มือเข้าปาก

จะรู้ได้อย่างไรว่าได้กินนมเพียงพอแล้ว

  • ลูกน้อยจะรู้สึกตื่นตัว
  • ลูกน้อยมีการขับถ่ายบ่อย ทำให้คุณแม่ต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมวันละ 4-6 ชิ้น
  • ลูกน้อยมีความสุขหลังจากได้กินนม
  • ลูกน้อยนอนหลับดี

ถ้าคุณแม่ให้นมลูกแล้วพบว่า ลูกน้อยมีน้ำหนักตัวที่เล็กเกินไป ดูกระวนกระวาย รู้สึกหิวตลอดเวลา ไม่ยอมขับถ่าย หรือมีเสียงที่ท้องแปลกๆ คุณแม่ควรจดบันทึกอาการเหล่านี้ในแต่ละวัน ดูความเปลี่ยนแปลงแล้วไปพบคุณหมอค่ะ

แต่อาจเป็นไปได้ว่าลูกน้อยของคุณอาจจะหิวกว่าปกติก็ได้ เนื่องจากเด็กมีช่วงเวลาที่เจริญเติบโตเร็ว ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งการกินนมที่ถี่ขึ้น ซึ่งทารกจะมีช่วงระยะเวลาที่เติบโตเร็ว ได้แก่ทารกที่มีอายุ 7-14 วัน, 2 เดือน, 3 เดือน, 4 เดือน และ 6 เดือนค่ะ

ที่มา: newkidscenter

บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ:

วิธีใช้ยาสำหรับเด็กและทารก ใช้ยาอย่างไรให้ปลอดภัยกับลูกน้อย ก่อนจะซื้อยาให้เด็ก ก่อนจะป้อนยาทารก แม่ต้องอ่าน!

ของใช้เด็กอ่อนอันตรายที่ควรหลีกเลี่ยง ระวัง! 9 ของใช้เด็กอ่อนที่ควรหลีกเลี่ยง

ลูกเป็นเด็กอ่อนเเอ เพียงเพราะว่าผ่าคลอด จริงน่ะเหรอ

บทความจากพันธมิตร
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
มารู้จักกับ Phenomenon-Based Learning กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการศึกษานอกห้องเรียนมากกว่าการท่องจำ
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • กระเพาะทารกมีขนาดเท่าไหร่ แม่ลูกอ่อนควรให้นมลูกแค่ไหนถึงจะเพียงพอ
แชร์ :
  • จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในท้องแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี คนท้องควรทำอย่างไร

    จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในท้องแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี คนท้องควรทำอย่างไร

  • จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในครรภ์สมบูรณ์ ลูกในครรภ์ของคุณครบ 32 หรือเปล่า

    จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในครรภ์สมบูรณ์ ลูกในครรภ์ของคุณครบ 32 หรือเปล่า

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในท้องแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี คนท้องควรทำอย่างไร

    จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในท้องแข็งแรง สมบูรณ์ สุขภาพดี คนท้องควรทำอย่างไร

  • จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในครรภ์สมบูรณ์ ลูกในครรภ์ของคุณครบ 32 หรือเปล่า

    จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกในครรภ์สมบูรณ์ ลูกในครรภ์ของคุณครบ 32 หรือเปล่า

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ