X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สุดยอดความมหัศจรรย์ของน้ำคร่ำ กับฉายา "องครักษ์พิทักษ์ลูก"

บทความ 3 นาที
สุดยอดความมหัศจรรย์ของน้ำคร่ำ กับฉายา "องครักษ์พิทักษ์ลูก"

ถ้าพูดถึงสิ่งมหัศจรรย์ที่ธรรมชาติสร้างขึ้น น้อยคนนักที่จะนึกถึงน้ำคร่ำ จะมหัศจรรย์อย่างไร สมฉายานี้หรือไม่ อยากรู้ไปหาคำตอบพร้อม ๆ กัน

ก่อนที่เราจะไปดูความมหัศจรรย์ของน้ำคร่ำนั้น เรามาทำความรู้จักกับน้ำคร่ำกันก่อนดีกว่า

น้ำคร้ำ องครักษ์พิทักษ์ลูก

น้ำคร่ำคืออะไร?

ปกติแล้วสิ่งที่เราเข้าใจมาตลอดก็คือ เมื่อมีการตั้งครรภ์ ทารกก็จะต้องอาศัยอยู่ในมดลูก แต่ทราบกันหรือไม่คะว่า จริง ๆ แล้วทารกไม่ได้อาศัยอยู่ในมดลูกของคุณแม่โดยตรง แต่ว่าทารกจะอาศัยการลอยตัวอยู่ในน้ำที่เราเรียกกันว่า “น้ำคร่ำ” ซึ่งน้ำคร่ำ ก็จะบรรจุอยู่ในถุงที่เราเรียกกันว่า “ถุงน้ำคร่ำ” อีกที และถุงน้ำคร่ำนี่แหละค่ะ ที่จะถูกอัดอยู่ในมดลูกของคุณแม่

ซึ่งในแต่ละเดือนนั้น น้ำคร่ำก็จะค่อย ๆ ผลิตออกมาทีละเล็กละน้อย ยกตัวอย่างเช่น อายุครรภ์ 3 เดือน ก็จะมีน้ำคร่ำประมาณ 50 – 80 มิลลิลิตร พออายุครรภ์ได้ 4 เดือนน้ำคร่ำก็จะมีเพิ่มมากขึ้นเป็น 150 – 200 มิลลิลิตร จนใกล้คลอดน้ำคร่ำจะมีมากถึง 1 ลิตรเลยละค่ะ

องค์ประกอบที่สำคัญของน้ำคร่ำนั้นคือ น้ำ ที่เป็นของเหลวประมาณ 98 เปอร์เซ็นต์ และในส่วนที่เป็นของแข็ง 2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งจะประกอบไปด้วย โปรตีน กรดยูริค สารยูเรีย รวมทั้งขี้ไคลของทารก ขนอ่อน เส้นผม และปัสสาวะของทารกด้วย

Advertisement

มีหน้าที่อย่างไร?

น้ำคร่ำ เปรียบเสมือนกับเทพพิทักษ์ทารก ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายใด ๆ และคอยดูแลไม่ให้ทารกในครรภ์ของคุณแม่ต้องหกคะเมนตีลังกา ทั้งยังเป็นแหล่งระบายของเสียออกจากตัวทารก และเป็นแหล่งให้อาหารของทารก ไม่เพียงเท่านั้นนะคะ ยังสามารถปรับอุณหภูมิในมดลูกให้เหมาะสมแก่การอยู่อาศัยของทารกได้อีกด้วย

เรื่องที่เราอาจไม่รู้เกี่ยวกับน้ำคร่ำ

  1. คุณแม่ทราบไหมคะว่า น้ำคร่ำคือความมหัศจรรย์ที่ได้มากจากคุณพ่อและคุณแม่ เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่สเปิร์มของคุณพ่อ มาจ๊ะเอ๋กับไข่ของคุณแม่ และสามารถฝ่าฟันเข้าไปได้ละก็ ทั้งไข่และสเปิร์มจะทำการผสมผสานจนตัวอ่อนกลายเป็นตัวอ่อน หลังจากนั้นตัวอ่อนก็จะพัฒนาเปลี่ยนเป็นรกและทารก นั่นเอง
  2. เมื่อไหร่ก็ตามที่น้ำคร่ำหลุดไป ร่างกายของคุณแม่จะผลิตสารโปรแลคติน ที่เป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการผลิตน้ำนม แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ต้องขึ้นอยู่กับร่างกายของคุณแม่แต่ละท่านกันด้วยนะคะ

ที่มา: Belly Belly

parenttown

 

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • สุดยอดความมหัศจรรย์ของน้ำคร่ำ กับฉายา "องครักษ์พิทักษ์ลูก"
แชร์ :
  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว