X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

12 กลเม็ดสยบเสียงงอแงของลูกวัย 2+

บทความ 3 นาที
12 กลเม็ดสยบเสียงงอแงของลูกวัย 2+

เมื่อลูก ๆ เข้าวัย 2 ขวบ เด็ก ๆ จะมีความคิด ความรู้สึกเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น เมือ่พ่อแม่ต้องเจอปัญหากับการงอแงเอาแต่ใจตัวเองอยู่ตลอดเวลา ก็พาลทำให้รู้สึกท้อแท้เหนื่อยใจ เมื่อลูกวัย 2 ขวบขึ้นไปงอแงหนักมาก จะทำไงดี

ก่อนอื่นพ่อแม่ก็ต้องทำความเข้าใจว่าลูกวัยนี้ยังจัดการกับภาวะอารมณ์ของตัวเองไม่ได้ การงอแงของลูกนั้นมักจะเกิดจากความหงุดหงิด ไม่ได้ในสิ่งที่ต้องการ และเมื่อหาทางออกไม่เจอ การร้องไห้งอแงจึงเป็นทางออกที่ดีในของตัวลูก พวกเขาอาจทำมันไปเรื่อย ๆ จนกลายเป็นนิสัย ถ้าลูก ๆ ของคุณไม่ยอมที่จะฟังอะไร หรือร้องไห้กับทุกเรื่อง คงจะทำให้คุณพ่อคุณแม่เลี้ยงลูกยากขึ้นไปอีกแน่ ๆ

เมื่อลูกงอแงมากทำอย่างไรดี

1.บอกกับลูก ๆ ว่าเสียงงอแงของเขามันฟังดูเป็นอย่างไร เหมือนเสียงกรีดร้องของเจ้ายักษ์ตัวร้ายในนิทานหรือเปล่า อธิบายให้ลูก ๆ ได้เข้าใจมากกว่าการไปออกคำสั่งว่า “ให้หยุดงอแงซะที”

2.ลองอัดคลิปเวลาที่ลูกงอแงเก็บมาเปิดให้ลูกดู แล้วอธิบายว่าสิ่งที่พวกเขาทำลงไปไม่น่ารักเลย

3.ชื่นชมเวลาที่ลูกไม่งอแง บอกกับลูกไปว่า “พ่อแม่ชอบเวลาที่หนูพูดดี ๆ มันทำให้พ่อแม่มีความสุขมาก และหนูจะกลายเป็นเด็กน่ารักที่สุดในโลก”

4.เมื่อลูกงอแงบอกกับเขาไปว่า “แม่จะช่วยก็ต่อเมื่อลูกหยุดงอแง และขอแม่ด้วยน้ำเสียงที่ปกติ”

5.บอกกับลูกไปว่า “แม่ไม่เข้าใจหนูตอนที่พูดงอแงเลย ฟังไม่ออกว่าหนูพูดว่าอะไร” พยายามกระตุ้นให้ลูกพูดด้วยน้ำเสียงที่ชัดเจนมากขึ้น

6.เมื่อลูกงอแงลองหยอกล้อกับลูกว่า เสียงพูดของเขาหายไปไหนนะ ช่วยกันค้นหาว่ามันอยู่ที่ไหน “นี่ไงมันอยู่ใต้หมอนนี่เอง”

ลูกงอแงมาก 2 ขวบ, ลูกงอแงมาก ทําไงดี

7.เมื่อลูกงอแง ขอให้พ่อแม่ใช้ความอดทน เพราะตอนที่ลูกงอแงนั้นพวกเขาจะรู้สึกอ่อนแอ ถ้าเราไปดุลูกมากขึ้นไปอีกก็จะยิ่งไปเพิ่มความรู้สึกว่าอ่อนแอให้กับลูก แต่ถ้าเรายอมเพื่อที่จะให้ลูกหยุดงอแงก็เท่ากับกลายเป็นให้รางวัลกับความอ่อนแอนั้น ดังนั้นถ้าเราทำเรื่องเล็กที่ดูเหมือนเป็นเรื่องใหญ่ของลูกให้กลายเป็นเรื่องสนุกสนาน และสร้างความผ่อนคลายให้กับลูก ก็จะช่วยทำให้เขาลืมในสิ่งที่กำลังเรียกร้องลงได้

Advertisement

8.อย่าปล่อยให้ความงอแงของลูกส่งผลทำให้พ่อแม่ต้องอารมณ์เสีย พวกคุณต้องพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่จะทำให้คุณรู้สึกผิดหวัง

9.ถ้าลูก ๆ อายุมากกว่า 5 ขวบยังงอแง ลองใช้วิธีปรับเงินหรือลดเงินค่าขนมทุกครั้งที่งอแง แล้วก็นำเงินไปเก็บไว้ในขวดโหลเพื่อให้ลูกเห็นว่าเขาเสียเงินไปเท่าไหร่แล้ว และถ้าวันไหนลูกไม่ได้งอแงทั้งวัน ลูกก็จะได้รับเงินคืน

10.ทุกคนสามารถมีอารมณ์หงุดหงิดไม่พอใจ โมโหและหัวเสียได้ในบางครั้ง แม้แต่ตัวพ่อแม่เอง ดังนั้นอย่าพยายามแสดงอารมณ์งอแงต่อหน้าลูก เพราะลูก ๆ จะคอยดูในสิ่งที่คุณทำและฟังในสิ่งที่คุณพูด จำไว้ว่าพ่อแม่คือแบบอย่างของลูก ๆ ไม่ว่าจะในทางที่ดีหรือทางที่แย่

11.เมื่อลูกเริ่มงอแง พยายามที่ตั้งใจฟังในสิ่งที่ลูกพูด เพื่อที่จะช่วยหยุดการงอแงของลูกได้ทันที เพราะหากคุณไม่สนใจเลยก็จะทำให้พวกเขาผิดหวังและอาจนำไปสู่การงอแงหนักมากขึ้นได้

12.มองหาสาเหตุที่ลูกงอแงหน่อยไหม มันอาจจะเป็นเพียงความต้องการขั้นพื้นฐานที่ลูกไม่ยอมพูด อย่างความหิวหรือความเหนื่อยที่อาจทำให้ใครก็ตามงอแงได้

การที่เจ้าตัวเล็กงอแงโดยส่วนใหญ่แล้ว มันเป็นวิธีการที่เรียกร้องในสิ่งที่เขาต้องการบางอย่าง และเป็นสิ่งที่ทำได้ง่ายกว่าการร้องไห้เสียอีก มักจะเกิดขึ้นกับเด็กอายุ 2 ขวบหรือในช่วงก่อนวัยเรียนจนกระทั่งอายุ  6 – 7 ขวบ ลองคิดดูว่าทำไมลูกถึงร้องไห้งอแงถ้ามันดูไม่ผิดปกติกว่าทุกที พวกเขาต้องการอะไร? พวกคุณยุ่งมากเป็นพิเศษหรือเปล่า? หรือลูกต้องการความช่วยเหลือจากพ่อแม่หรือเปล่า? การหาสาเหตุและหนทางจะช่วยให้ลูกหยุดงอแงได้ก่อนที่มันจะกลายเป็นนิสัย ลองพยายามที่จะใช้เวลาในการรับฟังลูก ๆ และลองทำตามเคล็ดลับนี้ดูนะคะ

บทความจากพันธมิตร
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
อาหารมื้อแรก สำหรับลูกรัก กินอะไรดี? เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
นมสำหรับเด็กผ่าคลอดเจนใหม่ สร้างสมองไว เสริมภูมิคุ้มกันแข็งแรง ที่แม่ยุคใหม่เลือก
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล

Source : www.kidsactivitiesblog.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
วิธีปลอบลูกน้อยงอแงที่ช่วยให้คุณแม่หายเหนื่อย
วัยทอง 2 ขวบ ลูกงอแงไร้เหตุผล พัฒนาการที่แม่ต้องรู้

theAsianparent Community

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 12 กลเม็ดสยบเสียงงอแงของลูกวัย 2+
แชร์ :
  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู?  รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

    ทำไมไม่มีใครเล่นกับหนู? รับมือ ลูกไปโรงเรียนครั้งแรก อย่างเข้าใจหัวใจเด็ก

  • ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

    ลูกชอบตีตัวเอง สัญญาณเตือนที่พ่อแม่ต้องรู้ และวิธีหยุดอย่างปลอดภัย

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว