X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก กับความงามสุดบรรเจิด

บทความ 3 นาที
ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก กับความงามสุดบรรเจิด

สำหรับแม่ ภาพใดเล่าจะงดงามไปกว่าภาพทารกแรกเกิด ที่มาพร้อมกับถุงน้ำคร่ำและรก

ภาพที่เรานำมาฝากในวันนี้ เป็นภาพอีกชุดหนึ่งที่แสดงออกให้เห็นถึงความงามแห่งสายใยรักของแม่และลูก โดยเราไม่ได้เพียงแต่นำภาพเหล่านี้มาให้ชมเท่านั้น ยังแฝงไปด้วยเนื้อหาสาระสำคัญ ที่จะนำพาเราไปทำความรู้จักกับ ถุงน้ำคร่ำและรก ได้มากขึ้น

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก

ทราบหรือไม่คะว่า น้ำคร่ำ ส่วนใหญ่เกิดจากทารกในครรภ์ปัสสาวะออกมา และการขับของเหลวภายในปอดของทารก รวมถึงน้ำที่ซึมมาจากรกแต่นับเป็นส่วนน้อย เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณน้ำคร่ำมีมากเกินไป ทารกในครรภ์ก็จะกำจัดน้ำในครรภ์โดยการกลืนหรือการหายใจเข้าไป ซึ่งน้ำคร่ำนี้จะช่วยในเรื่องการขยายตัวของปอด

หน้าที่ของน้ำคร่ำนั้น นอกจากช่วยในเรื่องของการขยายปอดของทารกในครรภ์แล้ว หน้าที่หลักก็คือ เป็นองครักษ์ให้กับทารกในครรภ์ และยังเป็นเกราะป้องกันอันตราย ที่เกิดจากแรงกระแทกภายนอกครรภ์คุณแม่ด้วย น้ำคร่ำจะช่วยลดแรงกระแทก เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโต รวมถึงพัฒนาการอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งน้ำคร่ำในครรภ์ต้องมีความสมดุลระหว่างการสร้างและกำจัดด้วย

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก

ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก

รก เป็นอวัยวะพิเศษที่อยู่ภายนอกร่างกายของทารก โดยจะติดอยู่กับผนังด้านในของมดลูกเชื่อมระหว่างมดลูกของมารดาและทารก และมีสายสะดือเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างรกกับทารก ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนสารอาหาร ออกซิเจน จากแม่ไปยังลูก และขับถ่ายของเสียจากลูกออกมาให้แม่กำจัด

ทำหน้าที่แทนระบบต่างๆ  ในระหว่างที่เซลล์กำลังพัฒนาขึ้นเป็นอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่

  1. แลกเปลี่ยนสารอาหารจากแม่สู่ลูกในท้อง (nutrition)
  2. หายใจ (respiration) รกเปรียบเสมือนปอด คือ เป็นจุดแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างแม่กับลูกน้อยในครรภ์
  3. ขับถ่ายของเสีย (excretion)  ทำหน้าที่คล้ายกับไต คือ เป็นที่ขับถ่ายของเสียที่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึมของทารก
  4. สร้างฮอร์โมน (hormone production)   ทำหน้าที่คล้ายกับเป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูก ซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จำเป็น ระหว่างตั้งครรภ์ ฮอร์โมนที่สำคัญได้แก่ ฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเทอโรน
  5. ป้องกันอันตราย (protection)   เป็นโครงสร้างที่ขัดขวางไม่ให้สารหรือ microorganism บางอย่างผ่านเข้าไปทำอันตรายต่อลูกอ่อน
  6. เป็นแหล่งเมตาโบไลต์สารบางอย่าง  เช่น แอนติบอดี (antibody) หรือยาบางอย่างที่ได้รับจากแม่จะถูกรกปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่ไม่เป็นอันตราย

ที่มา: La Maternidad Es Herm

parenttown

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ภาพถ่ายทารกแรกเกิด ถุงน้ำคร่ำและรก กับความงามสุดบรรเจิด
แชร์ :
  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

    วิจัยชี้! คนท้องเครียด นอนไม่หลับ ส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยหลังคลอด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว