X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การเล่นของลูก “ห้องเรียนนอกรั้ว ประสบการณ์นอกห้อง”

25 Aug, 2016
การเล่นของลูก “ห้องเรียนนอกรั้ว ประสบการณ์นอกห้อง”

ในยุคสมัยที่มีการแข่งขันสูงและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว คงไม่แปลกที่ทุกวันนี้บทสนทนาของพ่อแม่ของเด็กเกือบทุกวัย จะเป็นเรื่องการหาสิ่งที่ดีที่สุดให้ลูก โดยคำนึงถึงคุณภาพชีวิตของลูกเป็นสำคัญ

ถึงแม้จะผ่านพ้นการเลี้ยงลูกน้อยในวัยทารกไปแล้ว เมื่อลูกเริ่มเข้าสู่วัยเรียนรู้ พ่อแม่ก็ยังต้องมองหาสิ่งดี ๆ ให้ลูกเสมอ ตั้งแต่การคัดเลือกโรงเรียน การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียน แม้กระทั่งการมองแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ที่จะสามารถเติมเต็มทักษะต่าง ๆ ทั้งด้านพัฒนาการ จินตนาการ และการเข้าสังคม ให้กับลูกหลาน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยศวีร์ สายฟ้า อาจารย์ประจำสาขาวิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้กล่าวว่า เด็กในช่วงอายุ 6 – 12 ปี ยังคงอยู่ในช่วงวัยที่จำเป็นต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา แม้ว่าจะผ่านพ้นวัยเด็กเล็กมาแล้ว โดยเฉพาะการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมให้ลูกในวัยนี้ ด้วยการผ่านกิจกรรมการเล่น เพราะเด็กวัยนี้จะมีภาวะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง (Ego-centric) ที่ลดลงมากเมื่อเทียบกับเด็กปฐมวัย เด็กจะมองเห็นอารมณ์ความรู้สึกของคนอื่นได้มากขึ้น เข้าอกเข้าใจผู้อื่น รวมทั้งทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้มากขึ้น

การเล่น, บทบาทสมมติ

การเล่นนำไปสู่ประสบการณ์นอกห้องเรียน

Advertisement

การเล่นสำหรับเด็กในวัยเรียนมีหลากหลายประเภทที่จะช่วยเสริมพัฒนาการและสร้างความสนุกได้อย่างเหมาะสมกับวัย หนึ่งในนั้นคือการเล่นผ่านบทบาทสมมุติ (Role-Play) เช่น การให้เด็กสวมบทบาทอาชีพต่าง ๆ ตามที่ตนเองชอบ ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเด็กหลายด้าน เช่น

  • ด้านร่างกาย เด็ก ๆ จะเคลื่อนไหวขยับแขนขา รวมถึงการเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ ผ่านการทำกิจกรรมบทบาทสมมุติตามอาชีพต่างๆ
  • ด้านอารมณ์และจิตใจ จะทำให้เด็กๆ เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย มีอารมณ์ที่แจ่มใส
  • ด้านสติปัญญา เด็กๆ จะได้รับการพัฒนาเรื่องการคิดตามจินตนาการเกี่ยวกับอาชีพต่าง ๆ
  • ด้านภาษา เด็กๆ จะเรียนรู้การใช้ภาษาเฉพาะตามแต่ละอาชีพนั้น ๆ เช่น เมื่อเขาเลือกสวมบทบาทเป็นคุณหมอ ลูกก็จะได้เรียนรู้จักคำศัพท์เพิ่มขึ้นจากแต่ละอาชีพที่มีบทบาทต่างกัน
  • ด้านสังคม การที่เปิดโอกาสให้ลูกได้ไปเล่นนอกสถานที่หรือทำกิจกรรมร่วมกับเด็กคนอื่น ๆ เด็กๆ จะมีโอกาสได้เล่นกันเป็นกลุ่ม ทั้งกับเพศเดียวกันและข้ามเพศ ได้เรียนรู้ทำความเข้าใจและยอมรับในกติกาข้อตกลงของการเล่น รู้จักการอดทนรอคอยและแบ่งปัน รวมทั้งการช่วยเหลือเกื้อกูลกันขณะทำกิจกรรมการเล่น เกิดวุฒิภาวะ

การเล่น, บทบาทสมมติ

บทความจากพันธมิตร
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ

การเล่นของลูก จึงทำให้ลูกได้เกิดจินตนาการ และหากนำได้ปฏิบัติจริง เด็กจะเกิดการเรียนรู้ กลายเป็นประสบการณ์ที่จะเกิดขึ้นและอยู่ติดตัวลูกยาวนาน ในวันหยุดหรือช่วงเวลาที่ว่าง ๆ ลองชวนลูกออกไปเล่นเพื่อหาประสบการณ์ใหม่ ๆ กันนะคะ

ขอบคุณที่มาและภาพ : www.bangkok.kidzania.com , www.facebook.com/KidZaniaBangkok

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
การเล่นบทบาทสมมติของลูกน้อยวัยเตาะแตะ
การเล่นของลูกไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • การเล่นของลูก “ห้องเรียนนอกรั้ว ประสบการณ์นอกห้อง”
แชร์ :
  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว