X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

หยุดลูกน้อยนำสิ่งของเข้าปาก

บทความ 3 นาที
หยุดลูกน้อยนำสิ่งของเข้าปาก

ลูกชอบเอาของเข้าปาก--เราจะป้องกันไม่ให้พวกลูกน้อยหยิบจับอะไรได้ก็เอาใส่ปากอย่างไรดี? หลักการง่าย ๆ เพียงแค่เข้าใจเหตุผลว่าทำไมลูกชอบเอาของเข้าปาก

ลูกชอบเอา, ของเข้าปาก

เด็กเอาสิ่งของเข้าปาก

สำหรับเด็กวัยหัดเดิน โลกมันช่างกว้างใหญ่และน่าสนใจมาก พวกเขารู้สึกว่าโลกกำลังร้องเรียกให้พวกเขาไปสำรวจอยู่ ถึงแม้ว่าในความเป็นจริงแล้วโลกของพวกเขาจะถูกจำกัดอยู่ในขอบเขตหนึ่งเท่านั้น แต่พวกเขาก็จะสำรวจในทุกสิ่งที่พวกเขาสามารถเข้าถึงและจับต้องได้ การ “นำสิ่งของเข้าปาก” นั้นเป็นวิธีการง่ายที่พวกเขาจะรับสัมผัสจากสิ่งของนั้น ๆ ได้ การสัมผัส การชิม การมองดูด้วยตา การดมกลิ่น…เหล่านี้เป็นวิธีที่เราใช้ในการสำรวจสิ่งต่าง ๆ รอบ ๆ ตัวเรา แต่เด็กเล็ก ๆ หรือเด็กในวัยหัดเดินนั้นยังไม่สามารถเข้าใจการแยกแยะว่าประสาทสัมผัสใดควรใช้กับสิ่งใด

เหตุผลที่ทำให้เด็กมีการ “นำสิ่งของเข้าปาก”

นี่ไม่ใช่หลักการที่เป็นทางการแต่อย่างใด แต่เป็นสิ่งที่ฉันคิด ว่าการที่ลูกชอบเอาของเข้าปากมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ดังนั้นคุณไม่ต้องตื่นกลัว

  • การงอกของฟัน: ในเด็กที่กำลังมีฟันงอกออกมา หากได้เคี้ยวหรือกัดบางอย่างจะช่วยให้พวกเขารู้สึกสบายและช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวดจากฟันที่งอก
  • บรรเทาอาการทางอารมณ์: ในระยะนี้ การได้ดูดบางอย่างหมายถึงการมีชีวิตรอดสำหรับเขา เมื่อจุกนมเด็กและขวดนมไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในกิจวัตรประจำวันของเขาแล้ว พวกเขาจะมองหาสิ่งใหม่เพื่อเติมเต็มความว่างเปล่านี้

ลูกสาวของฉัน น้องขวัญข้าว รักจุกนมเด็กมาก น้องอายุได้เพียง 9 เดือน เมื่อฉันกำลังจะมีลูกคนที่ 3 ดังนั้น ก่อนถึงวันครบกำหนดประมาณ 2-3 สัปดาห์ เราตัดสินใจว่ามันถึงเวลาสำหรับขวัญข้าวแล้วที่ต้องหย่าจากจุกนม น้องไม่แฮปปี้เลยแต่ก็ไม่งอแงมากนัก และน้องก็ได้เลือกให้ “น้องหมีใบตอง” เป็นพี่เลี้ยงและเริ่มดูดหัวน้องหมีแทน และน้องขวัญข้าวจะมีหัวของน้องหมีใบตองในปากและตัวของน้องหมีก็โผล่ออกมาข้างนอกในทุกที่ที่น้องขวัญข้าวเอาหัวน้องหมีเข้าปากไป ในขณะนั้น เราไม่ต้องคิดนานเลยว่าให้ลูกดูดจุกนมยังดีต่อฟันของลูกมากกว่าหัวน้องหมี จากนั้น เราก็ได้ให้ลูกดูดจุกนมต่อเป็นเวลา 2-3 เดือนจนกว่าน้องขวัญข้าวจะเลิกชอบไปเอง

วิธีป้องกันลูกเอาของเข้าปาก หน้าถัดไป >>>

ปกป้องลูกจากการเอาสิ่งของเข้าปาก

ความจริงของสถานการณ์นี้คือ มีน้อยสิ่งที่คุณสามารถทำได้เพื่อหยุดลูกของคุณไม่ให้นำสิ่งของเข้าปาก แต่สิ่งที่คุณทำได้นั่นก็คือการปกป้องพวกเขาโดยการเอาสิ่งที่เป็นอันตรายต่าง ๆ ออกห่างจากเขาเสีย

  • คุณควรให้ลูกคนอื่น ๆ ที่โตแล้วเล่นของเล่นที่เป็นชิ้นเล็ก ๆ ในบริเวณที่ลูกน้อยของคุณเอื้อมไม่ถึง เช่น บนโต๊ะหรือบนเตียงนอนของพวกเขา และคุณควรตรวจเช็คว่าไม่มีชิ้นส่วนอุปกรณ์ใด ๆ หลุดออกมาให้เป็นอันตรายต่อลูกน้อย
  • หาสิ่งทดแทนให้เขาโดยใช้ของเล่นนุ่ม ๆ ตัวใหญ่พอที่เขาจะไม่สามารถยัดเข้าในปากได้ ของเล่นตัวใหญ่นี้จะช่วยให้เขายิ่งอยากจะเคี้ยวมากขึ้นและที่สำคัญไม่ทำให้เกิดอันตรายกับลูกของคุณ แม้กระทั่งขอบมุมของผ้าห่มก็สามารถเป็นที่เคี้ยวเล่นสำหรับเขาได้
  • เก็บสารพิษต่าง ๆ ไว้ในที่สูงหรือไว้ในตู้ที่ปิดสนิท
  • เก็บเงิน อุปกรณ์เย็บผ้า และสิ่งอื่น ๆ ที่คุณใช้ในการทำงานอดิเรกและงานบ้านทั่วไปให้พ้นมือลูกน้อย

หมายเหตุ: เก็บให้พ้นมือเด็กไม่ได้หมายความถึงบนเคาน์เตอร์ทำครัวหรือในลิ้นชัก เพราะเด็กในวัยนี้ไม่ได้เคี้ยวอย่างเดียว พวกเขาปีนป่ายด้วย

  • ให้ขนมขบเคี้ยวเล็ก ๆ น้อย ๆ กับลูกของคุณ ถึงแม้ว่าอาหารเป็นสิ่งน่าขบเคี้ยว แต่เด็กวัยหัดเดินนี้มักกัดกินคำใหญ่จนทำให้ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น คุณควรคอยระวัง

เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

แม้กระทั่งพ่อแม่ที่เก่งที่สุดหรือระแวดระวังมากที่สุดก็ไม่สามารถอยู่กับลูกน้อยได้ทุกเวลา เหตุการณ์ต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นได้ ฉะนั้น คุณจำเป็นต้องเตรียมตัวให้พร้อมตลอดเวลา

หากลูกน้อยของคุณกินสารพิษบางอย่างเข้าไปหรือกลืนวัตถุที่ปิดกั้นการหายใจ เวลานี้จะกลายเป็นนาทีวิกฤติไปทันที คุณต้องรู้วิธีการที่จะช่วยชีวิตลูกของคุณหากจำเป็นหรือรู้ว่าต้องพาเขาไปแผนกฉุกเฉินทันที หากลูกน้อยของคุณยังสามารถหายใจได้อยู่และคุณรู้ว่าเขากลืนอะไรลงไป โทรศัพท์หาแผนกฉุกเฉิน กุมารแพทย์หรือศูนย์ควบคุมสารพิษ เพื่อขอคำแนะนำว่าต้องปฏิบัติเช่นไร ซึ่งอาจเป็นอันตรายเป็นพิเศษหากลูกน้อยของคุณกินบางอย่างที่มีผลต่อกระแสเลือด

นอกเหนือจากการปฏิบัติข้างต้นแล้ว ตัวคุณเองต้องมีสติและอย่าทำร้ายตัวเอง เพราะลูกของคุณจะซึมซับพฤติกรรมของคุณและทำตามในที่สุด

บทความจากพันธมิตร
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
เคล็ดลับเนรมิตห้องครัวให้เรียบหรู ทันสมัย และถูกใจคนใช้งานจริง
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ชี้เป้า ประกันสุขภาพลูก ลดภาระทางการเงินเมื่อลูกเจ็บป่วย ช่วยให้ได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
ประกันสำหรับเด็ก เลือกแบบไหนดี มีไว้อุ่นใจ คุ้มครองครบ มีทุนสำรองเพื่ออนาคตของลูกรัก
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10
เพราะการศึกษาลูกเป็นสิ่งสำคัญ เพิ่มความมั่นคงทางการเงินในอนาคต ด้วยประกันสะสมทรัพย์ Saving 20/10

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Thailand Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • หยุดลูกน้อยนำสิ่งของเข้าปาก
แชร์ :
  • พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

    พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

  • อาการมือเท้าปาก แผลร้อนใน ในเด็กโรคยอดฮิตของเด็กทุกวัยหน้าตาเป็นยังไง?

    อาการมือเท้าปาก แผลร้อนใน ในเด็กโรคยอดฮิตของเด็กทุกวัยหน้าตาเป็นยังไง?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

    ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

  • พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

    พัฒนาการของเด็กวัยหัดเดิน ช่วงอายุ 12-18 เดือน มีอะไรบ้าง?

  • อาการมือเท้าปาก แผลร้อนใน ในเด็กโรคยอดฮิตของเด็กทุกวัยหน้าตาเป็นยังไง?

    อาการมือเท้าปาก แผลร้อนใน ในเด็กโรคยอดฮิตของเด็กทุกวัยหน้าตาเป็นยังไง?

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

    ชี้เป้า 10 เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ ช่วยป้องกันฝุ่น PM 2.5 เพื่อสุขภาพที่ดีของคุณ!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ