X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อะไรคือต้นเหตุของ "โรคหูติดเชื้อในเด็ก" และวิธีป้องกัน?

บทความ 5 นาที
อะไรคือต้นเหตุของ "โรคหูติดเชื้อในเด็ก" และวิธีป้องกัน?

เรามีข้อมูลที่คุณควรรู้เกี่ยวกับอาการหูติดเชื้อ สาเหตุ และวิธีรักษามาฝาก

อะไรคือต้นเหตุของ “โรคหูติดเชื้อในเด็ก” และวิธีป้องกัน?

โรคหูติดเชื้อ

อะไรคือต้นเหตุของ “โรคหูติดเชื้อในเด็ก” และวิธีป้องกัน?

จากสถิติเผยว่า 3 ใน 4 ของเด็กอายุ 3 ขวบและต่ำกว่าต้องเคยติดเชื้อในหูมาแล้วอย่างน้อย 1 ครั้ง เหตุผลน่ะเหรอคะ?

1. เพราะท่อในหูของเด็กเล็กสั้นกว่าของเด็กโตและผู้ใหญ่

2. ภูมิคุ้มกันของเด็กจะลดลงเมื่อสัมผัสอากาศเย็น หรือเชื้อโรคตามที่สาธารณะ เช่นห้างสรรพสินค้า หรือโรงเรียน

3. ภูมิแพ้

อะไรคือต้นเหตุของ โรคหูติดเชื้อในเด็ก และวิธีป้องกัน?

พบว่า 3 ใน 4 ของเด็กอายุ 3 ขวบและต่ำกว่า ต้องเคยติดเชื้อในหูมาแล้วอย่างน้อย 1 ครั้ง

หูติดเชื้อคืออะไร?

อาการติดเชื้อในหูเกิดขึ้น เมื่อมีของเหลวขังอยู่รอบเยื่อแก้วหู ทำให้หูชั้นกลางเกิดอาการอักเสบหรือบวม ของเหลวนี้เกิดขึ้นจากแบคทีเรียที่อยู่ในหู

สาเหตุของอาการหูติดเชื้อ

หูติดเชื้อมักเกิดขึ้นเมื่อเจ้าตัวเล็กเป็นหวัด เจ็บคอ และไซนัสอักเสบ เชื้อโรคที่เป็นต้นเหตุของอาการป่วยเหล่านี้จะเข้าไปในหูชั้นใน ทำให้เกิดอาการอักเสบ แบคทีเรียเดินทางจากมือเข้าสู่หูจากการสัมผัส และทางปาก ร่างกายคนมีต่อมอะดินอยด์ ซึ่งมีเซลล์ภูมิคุ้มกัน จะคอยทำหน้าที่ดักจับเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายทางปากก่อนที่มันจะไปถึงหูชั้นใน แต่เมื่อภูมิคุ้มกันอ่อนแอ หูก็จะติดเชื้อได้ง่ายขึ้น

โรคหูติดเชื้อในเด็ก

เมื่อมีของเหลว ขังอยู่รอบ เยื่อแก้วหู ทำให้หูชั้นกลาง เกิดอาการอักเสบหรือบวม

อาการหูติดเชื้อ

เด็กจะมีอาการเจ็บปวดหูรุนแรง และจะไม่สามารถเก็บอาการได้ ถ้าคุณสังเกตเห็นอาการดังต่อไปนี้ ขอให้จัดการรักษาอย่างด่วนที่สุด (หมายเหตุ: อาการเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นตามลำดับ)

1. ดึงทึ้งหูข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง

2. เอียงหัวไปข้างหนึ่ง

3. เอามือป้องหูเพื่อบรรเทาความปวด

4. นอนไม่หลับ

5. ขยุกขยิกหรือร้องไห้ตลอดเวลา

6. มีไข้

7. ทรงตัวไม่ได้หรือเดินเอียงและหกล้ม

8. มีของเหลวไหลออกมาจากหู

9. ไม่ได้ยินเสียงหรือไม่ตอบโต้

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

10. ถาม “อะไรนะ?” ทุกครั้งที่คุณพูด

อะไรคือต้นเหตุของ โรคหูติดเชื้อในเด็ก และวิธีป้องกัน?

วิธีการรักษา สามารถบรรเทา ได้โดยให้ยาแก้ปวด และโปะถุงน้ำร้อน หรือผ้าอุ่น ๆ

วิธีรักษาหูติดเชื้อ

การติดเชื้อขั้นเบา (หมายถึงไม่มีของเหลวไหลออกมาจากหู ไม่มีไข้ ไม่ได้ร้องไห้ตลอดเวลา หรือเพิ่งเป็นไม่กี่วัน) สามารถบรรเทาได้โดยให้ยาแก้ปวด และโปะถุงน้ำร้อนหรือผ้าอุ่น ๆ สามารถใช้ยาหยอดหูไปควบคู่กันได้

สำหรับอาการติดเชื้อขั้นรุนแรง หรือที่เป็นนานกว่าวันหรือสองวัน คุณควรพาลูกไปหาหมอเพื่อตรวจอย่างละเอียด หมออาจสั่งยาฆ่าเชื้อ เช่นอะม็อกซิลลิน ซึ่งจำเป็นต้องกินให้หมดตามที่แพทย์สั่ง ไม่เช่นนั้นอาจกลับมาติดเชื้อรุนแรงอีกได้

ไม่อยากเป็นอีกแล้ว ทำไงดี?

โชคร้ายที่หูติดเชื้อเป็นอาการป่วยที่เกิดขึ้นบ่อยในเด็กเล็ก อันที่จริง เด็กเล็กส่วนใหญ่ที่ไปหาหมอก็เพราะเป็นโรคนี้ คุณสามารถปฏิบัติตามคำแนะนำต่อไปนี้เพื่อป้องกันหูติดเชื้อ

1. อย่าให้ลูกโดนควันบุหรี่ มีงานวิจัยออกมาเป็นระยะ ๆ ว่าเด็กที่โดนควันบุหรี่เป็นประจำเสี่ยงเป็นหูติดเชื้อมากกว่าเด็กทั่วไป (หมายเหตุ: นี่ยังรวมถึงการสูบบุหรี่และการสูดดมควันบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์อีกด้วย)

2. พยายามให้ลูกหลีกเลี่ยงเด็กที่เป็นหวัดหรือไซนัสอักเสบ แม้ว่าไซนัสอักเสบจะไม่ใช่โรคติดต่อ แต่เด็กชอบเอามือไปสัมผัสจมูก น้ำมูก แล้วไปจับของเล่นที่เล่นร่วมกับเด็กคนอื่น ๆ

3. พาลูกไปฉีดยาป้องกันโรคหวัด ยิ่งป่วยน้อยเท่าไหร่ ยิ่งมีโอกาสติดเชื้อน้อยเท่านั้น

4. สอนให้ลูกล้างมือสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันเชื้อโรคติดต่อจากมือ

การติดเชื้อในหูเป็นโรคที่พ่อแม่และเด็กเล็กแทบทุกคนต้องเจอ แต่เราป้องกันได้ แค่ทำตามขั้นตอนง่าย ๆ เท่านี้เองค่ะ

อะไรคือต้นเหตุของ โรคหูติดเชื้อในเด็ก และวิธีป้องกัน?

เป็นโรคที่เด็ก ๆ แทบทุกคนต้องเจอ แต่เราป้องกันได้ แค่ทำตาม ขั้นตอนง่าย ๆ เท่านี้เองค่ะ

The Asianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพและสังคมคุณแม่ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และในเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น The Asianparent ที่ติดตามการตั้งครรภ์ ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งานฟรี เพื่อติดตามพัฒนาการของทารก ตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุด และผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และสื่อมัลติมีเดียหลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่และเด็ก โภชนาการแม่และเด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก The Asianparent เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

บทความที่เกี่ยวข้อง :

Nicklaus Children’s Hospital – Labyrinthitis

บทความอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง :

ลูกไม่สบาย ทำไงดี? เป็นไข้ น้ำมูกไหล ทำยังไงดี ลูกร้องไห้ไม่หยุด

เด็กเป็นโควิด-19 เด็กเล็กป่วยเยอ ะขึ้นทุกวัน ป่วยหนักเข้า ICU พ่อแม่อย่าประมาท!

เคล็ดลับบำรุงสมอง และเตรียมร่างกาย ลูกรักให้แข็งแรง พร้อมสำหรับ การเรียนรู้อยู่เสมอ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • อะไรคือต้นเหตุของ "โรคหูติดเชื้อในเด็ก" และวิธีป้องกัน?
แชร์ :
  • เทคนิคเลี้ยงลูกวัยอนุบาล 3 - 6 ขวบ ลูกวัยนี้ควรเน้นเรื่องอะไรบ้าง

    เทคนิคเลี้ยงลูกวัยอนุบาล 3 - 6 ขวบ ลูกวัยนี้ควรเน้นเรื่องอะไรบ้าง

  • โรคหัวใจโตในเด็ก และโรคหัวใจในผู้ใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม

    โรคหัวใจโตในเด็ก และโรคหัวใจในผู้ใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม

  • ระวัง !! พยาธิตัวตืดปลา จากการให้ลูกทานปลาดิบ อันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

    ระวัง !! พยาธิตัวตืดปลา จากการให้ลูกทานปลาดิบ อันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • เทคนิคเลี้ยงลูกวัยอนุบาล 3 - 6 ขวบ ลูกวัยนี้ควรเน้นเรื่องอะไรบ้าง

    เทคนิคเลี้ยงลูกวัยอนุบาล 3 - 6 ขวบ ลูกวัยนี้ควรเน้นเรื่องอะไรบ้าง

  • โรคหัวใจโตในเด็ก และโรคหัวใจในผู้ใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม

    โรคหัวใจโตในเด็ก และโรคหัวใจในผู้ใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม

  • ระวัง !! พยาธิตัวตืดปลา จากการให้ลูกทานปลาดิบ อันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

    ระวัง !! พยาธิตัวตืดปลา จากการให้ลูกทานปลาดิบ อันตรายที่พ่อแม่ไม่ควรมองข้าม

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ