X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แค่ปอดมันไม่พอใช่มั้ย ผลวิจัยเผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกาย ร้ายกาจ!

22 Apr, 2020
แค่ปอดมันไม่พอใช่มั้ย ผลวิจัยเผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกาย ร้ายกาจ!

จากที่เราเคยรู้กันว่า COVID-19 เป็นไวรัสที่เข้าทำลายปอด แต่ล่าสุดมันไม่ใช่แค่นั้น งานวิจัยของสวิตเซอร์แลนด์เผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกายได้ด้วย!

ผลวิจัยของ สวิตเซอร์แลนด์ เผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกาย

จากเดิม เรามักจะได้ยินว่า เชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19) นั้น มีอันตราย ถ้าลงไวรัสลงปอด จะทำให้ปอดอักเสบ และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ แต่ล่าสุด เชื้อไวรัสตัวนี้ ได้พัฒนาตัวเอง มันไม่ใช่แค่ปอดอีกต่อไปแล้ว งานวิจัยของสวิตเซอร์แลนด์เผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกายได้ด้วย!

โควิดทำลายเส้นเลือด

ผลงานวิจัยล่าสุด ที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร เดอะ แลนเซ็ต (The Lancet) เปิดเผยว่า นักวิจัยใน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้ค้นพบเรื่องใหม่ เกี่ยวกับเชื้อ โควิด-19 (COVID-19) คือเชื้อไวรัสตัวนี้ สามารถตรงเข้าทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกาย ซึ่งอาจทำให้อวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย ทำงานล้มเหลวได้

แฟรงก์ รูชิตซ์กา (Frank Ruschitzka) ประธานแผนกโรคหัวใจ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยซูริก (University Hospital Zurich) ได้บอกไว้ว่า ไวรัสชนิดนี้ ไม่เพียงแค่ทำลายปอดเท่านั้น แต่ยังทำลายเส้นเลือดทั่วร่างกาย มันจึงเป็นไวรัส ที่อันตรายกว่าแค่ทำให้ปอดบวม

โควิดทำลายเส้นเลือด

เชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19) มันจะเข้าสู่ เอนโดธีเลียม (Endothelium) หรือเซลล์บุผนังหลอดเลือด ดังนั้นการป้องกันของคุณเองจึงลดลง และทำให้เกิดปัญหา ในระบบไหลเวียนของเลือด มันจะไปลดการไหลเวียนเลือด เพื่อไปหล่อเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และในที่สุด ก็จะหยุดไม่ให้เลือดไหลเวียนได้

แฟรงก์ รูชิตซ์กา (Frank Ruschitzka) ยังได้เสริมอีกด้วยว่า จากสิ่งที่เขาพบ ผู้ป่วยมีปัญหาในทุกอวัยวะ ไม่ว่าจะเป็นในหัวใจ ไต ลำไส้ มันไปทุกที่ทั่วร่างกาย สิ่งนี้จึงอธิบายได้ว่า ทำไมผู้ที่สูบบุหรี่ หรือผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งถือเป็นโรคที่หลอดเลือดไม่ได้แข็งแรงอยู่แล้ว จึงมีความเสี่ยงต่อ โควิด-19 (COVID-19) มากกว่าคนทั่วไป

โควิดทำลายเส้นเลือด

นอกจากนั้น การศึกษาชิ้นนี้ ยังพบว่า มีองค์ประกอบของไวรัส โควิด-19 (COVID-19) ภายในเซลล์บุผนังหลอดเลือด และมีเซลล์อักเสบในผู้ป่วย โควิด-19 (COVID-19)

ผลวิเคราะห์จากผู้ป่วย แฟรงก์ รูชิตซ์กา (Frank Ruschitzka) ได้ชันสูตรศพผู้ป่วย แล้วพบว่า ผนังหลอดเลือดของพวกเขานั้น เต็มไปด้วยไวรัส โควิด-19 (COVID-19) และการทำงานของเส้นเลือดในอวัยวะทั้งหมดของพวกเขาบกพร่อง

โควิดทำลายเส้นเลือด

ยกตัวอย่าง จากเคสหนึ่ง คือ ผู้ป่วย โควิด-19 (COVID-19) อายุ 71 ปี ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และความดันโลหิตสูง เชื้อไวรัสได้พัฒนาตัวเอง โจมตีระบบอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ และทำให้เขาเสียชีวิตในที่สุด

จากการชันสูตร เขายังได้วิเคราะห์ไตของผู้เสียชีวิต ที่ปลูกถ่ายมา พบว่า มีโครงสร้างไวรัส อยู่ในเซลล์บุผนังหลอดเลือด นักวิจัยยังพบเซลล์อักเสบ ในหัวใจ ลำไส้เล็ก และปอด ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีเส้นเลือดขนาดเล็กเป็นจำนวนมาก

ผลวิจัยโควิดทำลายเส้นเลือด

ผู้ป่วยอายุ 58 ปี อีกคนหนึ่ง ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน พบว่ามีภาวะขาดเลือด หรือลดการไหลเวียนของเลือดในลำไส้เล็ก ซึ่งสามารถทำลายอวัยวะได้อย่างถาวร ซึ่งเป็นสาเหตุของการอักเสบของเซลล์บุผนังหลอดเลือด (Endothelium) ที่พบในปอด หัวใจ ไต และตับ
การค้นพบครั้งนี้ ทำให้นักวิจัยคิดว่า นอกจากวัคซีน ที่จะช่วยต้านเชื้อไวรัส โควิด-19 (COVID-19) แล้ว การเสริมความแข็งแรงของหลอดเลือด ก็น่าจะเป็นอีกแนวทางสำคัญ ในการรักษาผู้ป่วยโรคนี้ได้

ผู้ป่วยทุกคนที่มีความเสี่ยง และผู้สูงอายุ ควรได้รับการดูแลอย่างดีเยี่ยม ในด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด ยิ่งพวกเขาได้รับการรักษามากเท่าไหร่ พวกเขาก็จะรอดชีวิตจากการติดเชื้อ โควิด-19 (COVID-19) ได้มากขึ้นเท่านั้น

ผลวิจัยโควิดทำลายเส้นเลือด

จอห์น นิโคลส์ (John Nicholls) ศาสตราจารย์ด้านพยาธิวิทยา จากมหาวิทยาลัยฮ่องกง (University of Hong Kong) กล่าวว่า จำเป็นต้องมีการวิจัยเพิ่มเติม ในขณะที่โครงสร้างจำนวนมากที่นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ได้ตรวจพบ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนนั้น อาจดูเหมือนคล้ายกับอนุภาคของไวรัส โควิด-19 (COVID-19) ก็จริง แต่ก็ควรใช้เทคนิคในห้องปฏิบัติการอื่น ๆ เพื่อยืนยันการติดเชื้อไวรัสที่แท้จริงด้วย

ที่มา : scmp

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

เด็กติดอีกราย! เด็ก 2 ขวบ ติดโควิดจากแม่ ที่กลับมาจากโรงพยาบาล

สุดทรมาน! หญิงสาวบอกเล่า ประสบการณ์เป็นโควิด หายใจลำบากมาก

คลอดลูก ในช่วงโควิด-19 คลอดลูกยังไงให้ปลอดภัยในช่วงไวรัสระบาด?

บทความจากพันธมิตร
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ดีแทค ขอชวนน้อง ๆ มา #เปลี่ยนโลกช่วงปิดเทอม กับ dtac Young Safe Internet Leader Cyber Camp ซีซั่น 3
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
ครั้งแรกในไทยฟิลิปส์ เปิดตัวโคมUVCยับยั้งเชื้อโรคแบบตั้งโต๊ะ รองรับตลาดการใช้งานในครัวเรือนและธุรกิจบริการ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ
จะดีแค่ไหนหากโลกนี้มีของเล่นที่เด็กทุกคนสนุกด้วยกันได้อย่างเท่าเทียม มารู้จักกับ BLIX POP กันเถอะ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

PP.

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • แค่ปอดมันไม่พอใช่มั้ย ผลวิจัยเผย โควิดทำลายเส้นเลือด ทั่วร่างกาย ร้ายกาจ!
แชร์ :
  • อ่านกันให้ชัด ๆ ทำไม อาการ เด็กติดโควิด (COVID-19) ถึงไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่

    อ่านกันให้ชัด ๆ ทำไม อาการ เด็กติดโควิด (COVID-19) ถึงไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • อ่านกันให้ชัด ๆ ทำไม อาการ เด็กติดโควิด (COVID-19) ถึงไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่

    อ่านกันให้ชัด ๆ ทำไม อาการ เด็กติดโควิด (COVID-19) ถึงไม่รุนแรงเท่าผู้ใหญ่

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารไลฟ์สไตล์ที่น่าสนใจไปให้กับคุณ