X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

4 กฎความปลอดภัย ใครมีลูกวัย 4 ขวบต้องอ่าน!

บทความ 3 นาที
4 กฎความปลอดภัย ใครมีลูกวัย 4 ขวบต้องอ่าน!

ลูกตั้งแต่วัย 4 ขวบเริ่มมีพัฒนาการต่าง ๆ ที่เห็นเด่นชัดขึ้น รวมถึงพัฒนาการทางร่างกายด้วย น่าเป็นห่วงไม่ใช่น้อยที่สังคมรอบด้านสมัยนี้เปลี่ยนไป จนทำให้คนเป็นพ่อเป็นแม่ต้องคอยดูแลลูกของเราให้ดี นั่นรวมไปถึงการสร้าง “กฎความปลอดภัย” ที่เด็ก 4 ขวบควรรู้ ซึ่งเราต้องให้ความสำคัญและนำมาสอนลูก ๆ ของเราตั้งแต่ตอนนี้ เพื่อให้พวกเขาเข้าใจมากขึ้น

กฎข้อที่ 1 ไม่ใช้คนแปลกหน้าทุกคนที่จะเป็นอันตราย – เราทุกคนรู้กันเกี่ยวกับกฎที่ว่า “อย่าไว้ใจคนแปลกหน้า” แต่ในกรณีที่ลูกเกิดพลัดหลงกับพ่อแม่ จะทำอย่างไรให้เด็กสามารถขอความช่วยเหลือจากคนแปลกหน้าได้
หากลูกมองหาพ่อแม่ไม่เจอ แนะนำให้ลูก ๆ มองหาคุณแม่ท่านอื่นหรือมองหาผู้หญิงที่มีเด็กเล็กมาด้วย แล้วเดินเข้าไปขอความช่วยเหลือจากเธอ ด้วยวิธีการนี้ ลูก ๆ ของเราก็จะไม่ต้องรู้สึกหวาดกลัวที่จะได้รับความเชื่อเหลือกจากคนที่สามารถช่วยเหลือพวกเขาได้

กฎข้อที่ 2 จำชื่อของแม่และพ่อให่ได้ – หากเกิดการพลัดหลง การเรียนรู้ชื่อของคุณแม่และคุณพ่อว่าชื่ออะไรจะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถสื่อสารได้ว่าพวกเขากำลังค้นหาใครอยู่ หรือพวกเขามากับใคร หลังจากที่ลูกจำชื่อพ่อแม่ได้แล้ว คุณสามารถสอนให้เขาจำหมายเลขโทรศัพท์เพิ่มอีก ซี่งเป็นสิ่งคำคัญมาก ๆ ที่เด็ก ๆ ต้องรู้

กฎข้อที่ 3 ความปลอดภัยบนท้องถนน – สอนให้ลูกมองดูสองข้างซ้าย-ขวาของถนนก่อนที่จะข้ามถนน ให้จับมือกันและให้คอยระวังรถยนต์ มันเป็นเรื่องสำคัญที่เด็ก ๆ ต้องรู้จักระมัดระวังรถยนต์ เพราะคนขับรถยนต์โดยส่วนใหญ่จะมองไม่เห็นพวกเขา

กฎข้อที่ 4 รู้จักร่างกายของตัวเอง – เด็ก ๆ ต้องรู้ถึงความเป็นเจ้าของในร่างกายของตัวเอง พวกเขาต้องรู้ว่า การกอด การจูบ และการสัมผัสใด ๆ นั้นเป็นสิ่งที่ลูกตัดสินใจเองได้ และมีสิทธิที่จะปฏิเสธ สิ่งสำคัญคือลูกสามารถที่จะบอกพ่อแม่ได้ทุกครั้งถ้ามีคนมากระทำบางสิ่งบางอย่างกับร่างกายของพวกเขาโดยที่พวกเขาไม่ชอบ

ลูกควรรู้ว่า จุดไหนที่ร่างกายของพวกเขาไม่ควรให้ใครมาสัมผัสหรือจับ และตัวเองก็ต้องไม่ไปจับหรือสัมผัสของคนอื่นเช่นกัน โดยที่พ่อแม่ควรเริ่มต้นง่าย ๆ ด้วยการใช้หนังสือสำหรับเด็ก เพื่อเป็นการเริ่มต้นในการพูดคุยในเรื่องนี้ และไม่ใช้คำพูดหรือสีหน้าที่ดูน่ากลัว

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

ไม่เพียงแต่สอนให้รู้เกี่ยวกับร่างกายของพวกเขา แต่ยังเพิ่มเติมเกี่ยวกับการที่ลูกไม่ควรที่จะไปเตะ ต่อย หยิก หรือทำร้ายร่างกายของคนอื่นด้วย

Credit : www.beautythroughimperfection.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ :
ความปลอดภัยกับของเล่นเด็ก ที่พ่อแม่ควรรู้
5 วิธีป้องกันเพื่อความปลอดภัยเด็กเมื่อเด็กเล่นน้ำ

Advertisement

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • 4 กฎความปลอดภัย ใครมีลูกวัย 4 ขวบต้องอ่าน!
แชร์ :
  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

  • ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

    ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

  • ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

    ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

  • MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

    MBTI กับการเลี้ยงลูก: เมื่อบุคลิกภาพกำหนดสไตล์การเลี้ยงดู

  • ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

    ห่วงเกินไป ใช่ว่าดี! วิจัยเผย ลูกที่ถูกเลี้ยงแบบตีกรอบ เสี่ยงซึมเศร้า และภาวะวิตกกังวล

  • ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

    ลูกถูกแกล้งที่โรงเรียน พ่อแม่จะรับมือ และปกป้องลูกได้อย่างไร

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว