X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อาหารที่เด็กอายุ 6-12 เดือนไม่ควรกิน

30 Jul, 2015

เมื่อทารกอายุได้ 6 เดือนคุณควรให้ลูกได้เริ่มกินอาหารเสริม ซึ่งเป็นอาหารปกติที่ผู้ใหญ่กินกัน เพียงเอามาบดทำชิ้นเล็ก ๆ แต่ก็มีอาหารบางอย่างที่เด็ก 6-12 เดือนไม่ควรกิน เพราะร่างกายยังไม่พร้อมรับอาหารเหล่านี้

อาหารที่เด็กอายุ 6-12 เดือนไม่ควรกิน

อาหารที่เด็กอายุ 6-12 เดือนไม่ควรกิน

เมื่อทารกอายุได้ 6 เดือนคุณควรให้ลูกได้เริ่มกินอาหารเสริม ซึ่งเป็นอาหารปกติที่ผู้ใหญ่กินกัน เพียงเอามาบดทำชิ้นเล็ก ๆ แต่ก็มีอาหารบางอย่างที่เด็ก 6-12 เดือนไม่ควรกิน เพราะร่างกายยังไม่พร้อมรับอาหารเหล่านี้
น้ำผึ้ง

น้ำผึ้ง

น้ำผึ้งมีส่วนผสมของเชื้อเซลล์สืบพันธุ์ของแบคทีเรียคลอสตริเดียม บูโทลินัม (Clostridium Butolinum) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคบูโทลินัมในเด็กที่ระบบย่อยอาหารยังไม่สามารถพัฒนาได้เต็มที่ แม้ว่าโรคนี้จะเป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่มีอันตรายถึงชีวิตเลยทีเดียว
นมวัวหรือน้ำนมถั่วเหลือง

นมวัวหรือน้ำนมถั่วเหลือง

พยายามให้ลูกกินนมแม่หรือนมผงจนกว่าลูกจะอายุครบ 1ปี เพราะว่าก่อนลูกจะครบขวบปีแรก กระเพาะของลูกไม่สามารถย่อยโปรตีนในนมวัวนมและนมถั่วเหลืองได้ นอกจากนี้นมมีสารอาหารมากเกินกว่าที่ร่างกายของลูกต้องการและส่งผลต่อไตของลูกได้
อาหารทะเล

อาหารทะเล

ร่ายกายลูกยังไม่สามารถย่อยอาหารทะเลได้ ดังนั้นหากรับประทานเร็วกว่า 1 ขวบ อาจจะกระตุ้นให้ลูกกลายเป็นคนแพ้อาหารทะเลได้ค่ะ
ไข่

ไข่

ไข่เป็นอาหารกลุ่มเสี่ยงที่พบค่อนข้างบ่อยว่าเด็กแพ้ หากคุณอยากให้ลูกลองกินไข่ควรให้กินแต่ไข่แดง เพราะจากการวิจัยพบว่าเด็กแพ้ไข่ขาวมากกว่าไข่แดง ที่สำคัญไข่แดงที่ต้มในลักษณะของไข่ต้มมีความฝืดคอ กลืนยาก และทำให้ลูกอาเจียนออกมา
เนยถั่ว

เนยถั่ว

แม้ว่าเนยถั่วจะมีเนื้อเนียน นุ่ม แต่ก็ฝืดคอและกลืนยากเกินไปสำหรับเด็กเล็ก
แป้งสาลี หรือข้าวสาลี

แป้งสาลี หรือข้าวสาลี

อาหารที่มีส่วนผสมของแป้งสาลีเป็นหนึ่งในอาหารกลุ่มเสี่ยงที่เด็กก่อนขวบปีแรกมีอัตราการแพ้สูงทีเดียว อาหารที่มีแป้งสาลีเป็นส่วนประกอบสำคัญได้แก่ ขนมปัง เค้ก คุกกี้ บางครั้งเรามองข้ามไปและไม่ได้ให้ความสนใจอะไร ดังนั้นทางที่ดีที่สุดคือรอให้ลูกโตเกิน 1 ขวบแล้วค่อยให้ลูกลองทานอาหารประเภทนี้
อาหารนุ่มและเหนียว

อาหารนุ่มและเหนียว

อาหารนุ่มอย่างมาชเมลโล เยลลี่ หรือลูกอมที่เคี้ยวได้อาจติดคอลูกได้
อาหารที่มีขนาดเล็กและแข็ง

อาหารที่มีขนาดเล็กและแข็ง

ลูกอม ยาอมแก้เจ็บคอ ถั่ว ข้าวโพดคั่ว เป็นอาหารกลุ่มเสี่ยงต่อการติดคอของลูกได้ง่าย ธัญพืชอาจจะดูเหมือนว่าเล็กไปไม่น่าติดคอ แต่อาจติดหลอดลมของลูกและก่อให้เกิดการติดเชื้อได้

คลิก Next เพื่ออ่านหน้าต่อไป
อาหารชิ้นใหญ่

อาหารชิ้นใหญ่

อาหารที่มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดถั่วลิสงอาจจะติดคอลูกได้ ผักจำพวกแครอท คื่นช่าย ควรหั่นเป็นเส้นฝอยหรือหั่นหลังต้มสุก มะเขือเทศราชินี และองุ่น ควรหั่นให้มีขนาดเล็กเท่าถั่วลิสงก่อนให้ลูกกิน

ทุกครั้งที่คุณให้ลูกลองทานอาหารใหม่ ควรให้ลูกกินซ้ำแบบเดิมสัก 1 สัปดาห์เพื่อให้แน่ใจว่าลูกไม่แพ้อาหารชนิดนั้น หากดูแล้วกลัวว่าลูกจะแพ้ให้เน้นผักใบเขียวเป็นอาหารให้ลูกแทนเพราะว่าผักใบเขียวจัดว่าเป็นอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยที่สุดสำหรับเด็ก
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • อาหารที่เด็กอายุ 6-12 เดือนไม่ควรกิน
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว