X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วิธีปฏิเสธลูก ไม่ให้ทำร้ายความรู้สึก

9 Jun, 2013

ถ้าคุณกำลังประสบปัญหาในการอบรมสั่งสอนเจ้าตัวเล็ก และมักได้ยินตัวเองพูดคำว่า “ไม่” หรือ “อย่า” บ่อย ๆ เรามีวิธีที่จะช่วยให้คุณเลี่ยงไม่ต้องพูดปฏิเสธใส่ลูกแบบโหดร้าย โดยใช้วิธีที่ไม่ทำร้ายความรู้สึกมาแนะนำกัน เพราะเรารู้ว่าไม่มีพ่อแม่คนไหนอยากพูดว่า “ไม่” ใส่ลูกตลอดเวลาหรอกค่ะ

เป็นผู้ควบคุม

เป็นผู้ควบคุม

ก่อนที่จะเริ่มอบรมสั่งสอนลูก คุณควรเลิกใจอ่อนกับลูกหรือเมินใส่เมื่อพวกเขาทำตัวไม่เหมาะสม คุณต้องเป็นผู้ควบคุมสถานการณ์ และหัดปฏิเสธโดยใช้วิธีอื่นที่แยบยลกว่า
หยุดสักนิดและสูดหายใจเข้าลึกๆ

หยุดสักนิดและสูดหายใจเข้าลึกๆ

ก่อนที่คุณจะพูดคำว่า \"ไม่\" ออกมาพร้อมความรู้สึกในแง่ลบ หยุดสักนิดแล้วสูดหายใจเข้าลึก ๆ แล้วลองประเมินสถานการณ์อีกครั้ง นึกถึงปฏิกิริยาที่คุณกำลังจะแสดงออกไป และพยายามหาคำพูดที่เหมาะสม ชั่งใจดูว่าคุณจะใช้วิธีเมินหรือแก้ปัญหาด้วยความรักและความห่วงใยดี
ห้ามอย่างสร้างสรรค์

ห้ามอย่างสร้างสรรค์

แทนที่จะพูดว่า “ไม่” หรือ “อย่า” ลองเปลี่ยนไปใช้คำว่า “สกปรก” ก่อนที่ลูกจะเอื้อมมือไปจับสุนัขจรจัด หรือ “อันตราย!” เมื่อเห็นลูกกำลังจะวิ่งออกไปที่ถนนแทน
ตำหนิการกระทำ ไม่ใช่ตัวเด็ก

ตำหนิการกระทำ ไม่ใช่ตัวเด็ก

คำว่า “ไม่” ทำให้เกิดความรู้สึกในแง่ลบ ลูกของคุณอาจไม่ได้แค่คิดว่าคุณกำลังตำหนิการกระทำของเขา แต่ยังตำหนิตัวเขาด้วย ลองเปลี่ยนคำพูดเป็น “แม่ไม่ชอบในสิ่งที่ลูกทำ แต่แม่ก็ยังรักหนูนะ” น่าจะทำให้เด็กเข้าใจได้ดีกว่าว่าสิ่งที่เขาทำนั้นผิด
ใช้ “สีหน้า”

ใช้ “สีหน้า”

ภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดนับร้อยพัน สีหน้าของคุณแม่ที่มองอย่างตำหนิก็สื่อแทนคำได้นับร้อยพันเช่นกัน ผู้ปกครองสามารถแก้พฤติกรรมของลูกได้ง่าย ๆ โดยไม่ต้องพูด เพียงแค่ใช้สีหน้า ซึ่งสามารถสื่อถึงอารมณ์โกรธ คำตำหนิและความเข้มงวดได้อย่างครบถ้วนในหน้าเดียว ลองฝึกดูสิคะ แล้วคุณจะพบว่ามันได้ผลอย่างน่าอัศจรรย์
รับฟังความต้องการของลูก

รับฟังความต้องการของลูก

อย่าปฏิเสธก่อนที่คุณจะได้ฟังลูกพูด รับฟังว่าเขาต้องการอะไรและใช้คำพูดเช่น “แม่รู้ว่าหนูชอบช็อกโกแลต แต่มันกินไม่ดีนะคะ”
จดรายการสิ่งที่อยากได้

จดรายการสิ่งที่อยากได้

ถ้าลูกคุณเป็นเด็กเอาแต่ใจ ครั้งหน้าที่คุณเดินผ่านแผนกของเล่น และลูกเริ่มงอแงอยากได้ แค่งัดไอแพดของคุณออกมาแล้วจดไว้ว่าลูกอยากได้อะไร ลูกจะรู้สึกว่ายังไงสุดท้ายเขาก็จะได้มัน เพราะมันได้เข้าไปอยู่ในรายการของวิเศษของคุณแล้ว นี่เป็นวิธีที่ดีกว่าการปฏิเสธในทันที
สิ่งนี้ “มีไว้สำหรับ...”

สิ่งนี้ “มีไว้สำหรับ...”

อธิบายเหตุผลให้ลูกฟังว่าทำไมเขาจึงไม่ควรปฏิบัติเช่นนั้น โดยเฉพาะกับเด็กเล็ก ๆ โดยใช้ภาษาง่าย ๆ เช่น “อาหารมีไว้กิน ไม่ได้มีไว้ขว้างนะคะ” หรือ “ของเล่นมีไว้เล่น ไม่ได้มีไว้กัดนะคะ”
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • วิธีปฏิเสธลูก ไม่ให้ทำร้ายความรู้สึก
แชร์ :
  • ก็เลิกกันแล้วให้มันจบๆ ไป ผัวเมียเลิกกัน ทำไมต้องด่ากัน?

    ก็เลิกกันแล้วให้มันจบๆ ไป ผัวเมียเลิกกัน ทำไมต้องด่ากัน?

  • ทำไมไม่ควรห้ามเด็กร้องไห้ การห้ามน้ำตา ทำร้ายใจเด็ก มากกว่าที่คิด!

    ทำไมไม่ควรห้ามเด็กร้องไห้ การห้ามน้ำตา ทำร้ายใจเด็ก มากกว่าที่คิด!

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

  • ก็เลิกกันแล้วให้มันจบๆ ไป ผัวเมียเลิกกัน ทำไมต้องด่ากัน?

    ก็เลิกกันแล้วให้มันจบๆ ไป ผัวเมียเลิกกัน ทำไมต้องด่ากัน?

  • ทำไมไม่ควรห้ามเด็กร้องไห้ การห้ามน้ำตา ทำร้ายใจเด็ก มากกว่าที่คิด!

    ทำไมไม่ควรห้ามเด็กร้องไห้ การห้ามน้ำตา ทำร้ายใจเด็ก มากกว่าที่คิด!

  • ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

    ถามถูกจุด ลูกฉลาดได้จริง: เคล็ดลับ ตั้งคำถามกระตุ้นสมองตามวัย

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว