X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ทารกคลอดจากท้องแม่ 2 ครั้งเพื่อผ่าตัดเอาเนื้องอกออก

26 Oct, 2016
ทารกคลอดจากท้องแม่ 2 ครั้งเพื่อผ่าตัดเอาเนื้องอกออก

แพทย์สุดเจ๋ง ทำคลอดทารกถึง 2 ครั้ง โดยรอบแรกเป็นการผ่าตัดเอาเนื้องอกช่วยชีวิตทารกก่อนนำกลับเข้าไปในมดลูกใหม่เพื่อให้เติบโตอีกครั้งแบบธรรมชาติ

มาร์การเร็ต ฮอว์กินส์ โบเมอร์ จากรัฐเท็กซัสพบว่า ขณะที่เธอตั้งครรภ์ได้ 16 สัปดาห์นั้น ทารกในครรภ์นั้นมี เนื้องอก บริเวณกระดูกก้นกบที่เรียกว่า Sacrococcygeal teratoma ซึ่งเป็นเนื้องอกของเซลล์ตัวอ่อนของ กระดูกก้นกบ และ เนื้องอกที่ว่านี้นั้น เป็นอุปสรรคต่อการไหลเวียนโลหิตของทารกในครรภ์ และ อาจเพิ่มความเสี่ยงทำให้ทารกเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว จึง ทารกคลอด ผ่าตัดเนื้องอก การผ่าตัดรอบนี้มีความซับซ้อนมาก เพราะ เหตุนี้ทำให้ที่ผ่านมาจึงไม่มีแพทย์ที่จะเสี่ยงกับการ ผ่าตัด ศาสตราจารย์ Li Chao Long อย่างน้อยต้องผ่านขั้นตอน 3 วิกฤตปัญหาใหญ่ก่อน  1 . การวางยาสลบ 2 . การลดความดันในช่องท้อง 3 . แบ่งแยกส่วนอวัยวะภายในช่องท้อง อวัยวะภายในช่องท้องถูกก้อน เนื้องอก กดทับมานาน จึงทำให้การทำงานของตับ ปอด สูญเสีย มีอาการปอดแฟบ หลังวางยาสลบ ไม่สามารถหายใจด้วยตัวเองได้ เพราะ หัวใจขาดเลือด ขณะเดียวกัน ก้อน เนื้องอก มีขนาดใหญ่มาก ทำให้ความดันในช่องท้องสูง ซึ่งจะทำให้ปิดเยื่อบุต่าง ๆ และ อาจทำให้กล้ามเนื้อเสื่อม และ ต้องทำให้ร่างกายปรับตัวใหม่ โรงพยาบาล ฟูด้า ได้เชิญแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน เพื่อมาประชุมวิธีการดูแลที่ดีที่สุดให้

ทารกคลอด ผ่าตัดเนื้องอก

 

Advertisement

ทารกคลอด ผ่าตัดเนื้องอก

ขณะนั้นมีแพทย์หลายคน แนะนำให้เธอยุติการตั้งครรภ์ในครั้งนี้เสีย แต่ ด็อกเตอร์ดาร์เรล แคส แพทย์ประจำ Texas Children’s Fetal Centre เห็นว่าน่าจะลองเสี่ยงทำการผ่าตัด เพื่อรักษาชีวิตทารกน้อยเอาไว้ มาร์กาเร็ต จึงตัดสินใจทำตามที่แพทย์บอก จึงต้องทำการ ทารกคลอด ผ่าตัดเนื้องอก ออกจากตัวทารก และ ทำการ รักษาทารกน้อยต่อไป ด็อกเตอร์ดาร์เรล ได้ผ่าตัดคลอดทารกน้อยลินลี ออกมาด้วยน้ำหนักตัวราว  538  กรัม พบว่าทารกมีเนื้องอกขนาดใหญ่บริเวณ ก้นกบ จึงได้ผ่าตัดออก แต่หัวใจของทารก ลินลีก็ได้หยุดเต้นไปชั่วขณะหนึ่งระหว่างทำการผ่าตัด อย่างไรก็ดี ด็อกเตอร์ดาร์เรล และ ทีมแพทย์ก็สามารถผ่าตัด และ ช่วยชีวิตของทารกน้อยได้เป็นผลสำเร็จ ซึ่งระยะเวลาที่หนูน้อยอยู่นอกมดลูกของคุณแม่นั้น ใช้เวลาเพียงแค่ 20 นาทีเท่านั้น หลังจากผ่าตัดเสร็จด็อกเตอร์ดาร์เรล ก็ได้นำตัวทารกน้อยกลับเข้าไปในครรภ์อีกครั้ง เพื่อให้เติบโตตามธรรมชาติ

ทารกคลอด ผ่าตัดเนื้องอก

12 สัปดาห์ต่อมา แพทย์ก็ได้ผ่าตัดคลอดทารก ลินลี ออกมาลืมตาดูโลกอีกเป็นครั้งที่สองด้วยน้ำหนักตัว 2,400 กรัม โดยหนูน้อยมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงดี แต่หลังจากที่ ลินลี ลืมตาดูโลกได้แปดวัน แพทย์ก็ต้องผ่าตัดเธออีกครั้งเนื่องจากพบว่า เนื้องอก ที่ยังหลงเหลืออยู่นั้นเริ่มขยายขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง จนมั่นใจว่าร่างกายของหนูน้อยปกติแข็งแรงดีจึงอนุญาตให้กลับมาดูแลต่อที่บ้านได้

นับว่าเป็นการความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของวง การแพทย์อีกครั้งหนึ่งเลยก็ว่าได้ เนื่องจากก้อนเนื้องอกที่ว่านี้ มีโอกาสพบได้น้อยมาก เรียกได้ว่าอัตราการพบนั้นมีเพียง 1 ต่อ 30,000 – 70,000 ของการคลอดเลยก็ว่าได้ และมักพบในทารกหญิงมากกว่าทารกเพศชายมากถึง 4 เท่า

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ข้อมูลคุณภาพ และ สังคมคุณแม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและเอเชีย เรามีผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารแพทย์ แหล่งความรู้แม่และเด็ก รวมถึงแอพพลิเคชั่น theAsianparent Thailand ที่ติดตามการตั้งครรภ์ให้คุณแม่ได้ลงทะเบียนใช้งาน เพื่อติดตามพัฒนาการทารกตั้งแต่ตั้งครรภ์ จนถึงติดตามหลังคลอดที่ครอบคลุมที่สุดและผู้ใช้งานสูงสุดในประเทศไทย นอกจากความรู้ยังมีไลฟ์สไตล์ และ สื่อ มัลติมีเดีย หลากหลาย ไม่ว่าสุขภาพแม่ และ เด็ก โภชนาการแม่ และ เด็ก กิจกรรมสำหรับครอบครัว 

การวางแผนครอบครัวไปจนถึง การดูแลลูก การศึกษา และจิตวิทยาเด็ก theAsianparent Thailand เราพร้อมสนับสนุนพ่อแม่ทุกท่าน ให้มีความรู้และมีสุขภาพกายใจเข้มแข็ง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวอย่างแข็งแรง

เพราะเราเชื่อว่า “พ่อแม่เข้มแข็ง ครอบครัวแข็งแรง”

theAsianparent Thailand เว็บไซต์ และ คอมมูนิตี้อันดับหนึ่งที่คุณแม่เลือก นอกจากสาระความรู้ที่เรามอบให้คุณแม่ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การวางแผนมีลูกแล้ว เรายังมี แอพพลิเคชั่น รวมถึงสื่อ มัลติมีเดีย หลากหลายที่ช่วยตอบโจทย์ทุกความต้องการของคุณแม่ยุคใหม่ ที่ต้องทำงานและดูแลลูกไปพร้อมกัน ให้มีความมั่นใจและพร้อมในการดูแลลูกทุกช่วงเวลา ตั้งแต่การให้นมบุตร การดูแลตนเองหลังคลอด ท่าออกกำลังกายหลังคลอดเพื่อให้หุ่นของแม่หลังคลอดกลับมาฟิตแอนเฟิร์มอีกครั้ง  theAsianparent Thailand ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนคุณพ่อคุณแม่ในเรื่องการดูแลลูก ความรู้แม่และเด็กที่เต็มเปี่ยม และตอบทุกข้อสงสัยในแอพพลิเคชั่นที่เป็นสื่อกลาง และกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัวไทย

 

 

 

 

ที่มา: BBC Thai และ Mirror

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

เรื่องจริง!! เนื้องอกรักไข่ เด็กและวัยรุ่นก็เป็นได้

เช็คด่วน! เนื้องอกในมดลูกเสี่ยงมีบุตรยาก

บทความจากพันธมิตร
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Muninth

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • ทารกคลอดจากท้องแม่ 2 ครั้งเพื่อผ่าตัดเอาเนื้องอกออก
แชร์ :
  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว