X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ไอพีดี…ภัยในเด็ก ไอพีดี (IPD, invasive pneumococcal disease)

บทความ 3 นาที
ไอพีดี…ภัยในเด็ก ไอพีดี (IPD, invasive pneumococcal disease)ไอพีดี…ภัยในเด็ก ไอพีดี (IPD, invasive pneumococcal disease)

คุณพ่อคุณแม่น่าจะพอทราบเรื่องของคุณโอปอลล์ ปณิสราที่เธอมีความเสี่ยงต่อการคลอดเมื่ออายุครรภ์ได้เพียง 23 สัปดาห์ ที่โอกาสรอดของลูกแทบไม่มี ทำให้เธอต้องนอนนิ่งๆ อยู่บนเตียงพร้อมกับใช้ยาช่วย ทั้งที่เธอรู้ว่าผลกระทบจากยาจะส่งผลอันตรายกับตัวเธอโดยตรง แต่สัญชาตญาณความเป็นแม่ เธอจึงเลือกที่จะปกป้องชีวิตของลูกมากกว่าความปลอดภัยของตัวเธอ

และจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับคุณโอปอลล์ ทำให้เธอเชื่ออย่างหนึ่งว่าการป้องกันสำคัญกว่าการแก้ไข และเธอในฐานะแม่คนหนึ่งที่จะยอมทำทุกอย่างเพื่อปกป้องลูกรักทั้งสองคนของเธอให้ดีที่สุด รวมถึงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไอพีดี (IPD) ด้วย

เพื่อให้คุณพ่อคุณแม่ได้รู้จักกับโรคไอพีดี (IPD) ที่เป็นเหมือนภัยต่อเด็กๆ ให้ได้ทราบและตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันมากขึ้น  ยิ่งโดยเฉพาะกับลูกเล็กๆ  เราจึงมีข้อมูลในเรื่องโรคไอพีดี จาก รศ.นพ.ชิษณุ พันธุ์เจริญ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาให้ได้ทราบกันค่ะ

 

รศ.นพ.ชิษณุ-พันธุ์เจริญ

 

ไอพีดี(IPD, invasive pneumococcal disease) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียนิวโมคอคคัสชนิดรุนแรงและแพร่กระจาย  ประกอบด้วยโรคสำคัญสองโรค นั่นคือ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และโรคติดเชื้อในกระแสเลือด บางครั้งอาจรวมถึงปอดบวม เชื้อนิวโมคอคคัสยังเป็นสาเหตุสำคัญของโรคหูชั้นกลางอักเสบและโรคไซนัสอักเสบ1 ซึ่งโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสพบได้บ่อยและมีโอกาสที่จะเกิดโรครุนแรงในผู้ป่วยเด็กเล็ก (โดยอุบัติการณ์ของการเกิดโรคไอพีดี (IPD) ในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีเป็น 11.7 ต่อแสนประชากร2) ซึ่งอาจถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือมีความพิการทางสมองขึ้นได้1

 

…จะรู้ได้อย่างไรว่าลูกมีอาการป่วยด้วยโรคไอพีดี(IPD)

อาการของผู้ป่วยไอพีดีแตกต่างกันตามประเภทของอวัยวะที่ติดเชื้อและอายุของผู้ป่วย

โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อนิวโมคอคคัสมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ซึมลง และอาจมีอาการชักได้โดยเฉพาะในเด็กเล็ก

โรคติดเชื้อในกระแสเลือด ผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดจากเชื้อนิวโมคอคคัสมีอาการไข้สูง ซึมลง ความดันโลหิตต่ำ ผู้ป่วยเด็กอาจมีอาการชักจากไข้สูงได้

โรคปอดบวม ผู้ป่วยปอดบวมจากเชื้อนิวโมคอคคัสมีอาการไข้สูง ไอ และเหนื่อยหอบ อาการของผู้ป่วยมักเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าผู้ป่วยปอดบวมจากเชื้อไวรัส นอกจากนี้โรคปอดบวมจากเชื้อนิวโมคอคคัสอาจเกิดตามหลังการติดเชื้อไวรัสโดยเฉพาะไวรัสไข้หวัดใหญ่

 

…การป้องกันลูกให้ห่างไกลจากโรคไอพีดี

การป้องกันไอพีดีในเด็กทำได้โดยการหลีกเลี่ยงการนำเด็กเข้าไปในที่ชุมชนหรือสถานที่แออัดโดยไม่จำเป็น การสวมหน้ากากอนามัย การปิดปากและจมูกเวลาไอจาม และล้างมือบ่อยๆ ในผู้ป่วยที่มีอาการไข้หรือมีอาการหวัด อาจช่วยลดการแพร่กระจายของเชื้อนิวโมคอคคัสเช่นเดียวกับการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสระบบทางเดินหายใจ และเสริมสร้างภูมิคุ้มกันอย่างเหมาะสมโดยสามารถปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมได้1

 

รู้อย่างนี้แล้วคุณพ่อคุณแม่ที่มีลูกเล็กต้องเฝ้าระวังและหมั่นสังเกตดูแลลูกอย่างใกล้ชิด หากไม่จำเป็นก็ไม่ควรพาลูกเล็กๆ ไปในที่คนเยอะๆ แออัด และหากอยากเสริมภูมิคุ้มกันโรคไอพีดี (IPD) ควรปรึกษาแพทย์เพิ่มเติม  เพราะพ่อแม่ทุกคนคงไม่มีใครอยากเห็นลูกป่วยไข้แล้วจึงค่อยมารักษา วิธีใดก็ตามที่จะปกป้องลูกรักได้แทนการแก้ไข คุณพ่อคุณแม่ทุกคนก็พร้อมจะทำ เช่นเดียวกันกับ คุณโอปอลล์ ปาณิสรา คุณแม่ผู้เคยผ่านประสบการณ์การปกป้องลูกรักครั้งสำคัญมาแล้วในชีวิต ที่ต่อจากนี้เธอจะไม่ยอมให้โรคภัยต่างๆ มาทำอะไรลูกๆ ของเธอได้ค่ะ

 

 

เอกสารอ้างอิง

  1. ชิษณุ พันธุ์เจริญ, ธันยวีร์ ภูธนกิจ, จรุงจิตร์ งามไพบูลย์. ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยโรคติดเชื้อ ความสำคัญของโรค การรักษา และการป้องกัน. กรุงเทพฯ: ธนาเพลส,
  2. Rhodes J, Dejsirilert S, Maloney SA, Jorakate P, Kaewpan A, Salika P, et al. Pneumococcal Bacteremia Requiring Hospitalization in Rural Thailand: An update on incidence, Clinical Characteristics, Serotype Distribution, and Atimicrobial Susceptibility, 2005-2010. PLoS One. 2013;8:e66038.

 

ขอบคุณข้อมูลจากรศ.นพ.ชิษณุ พันธุ์เจริญ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสามารถติดตามข้อมูลดีๆ จากคลินิกจุฬาคิดส์คลับ ได้ที่

https://www.facebook.com/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%AC%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A-1455632701380547/

 

คลินิกจุฬาคิดส์คลับ

 

pfizer logo

บทความจากพันธมิตร
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
โลกใบใหม่ที่ไม่ได้มีแต่ความเงียบงัน ขั้นตอนการฟื้นฟูหลัง ผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
การสูญเสียการได้ยิน ปัญหาเร่งด่วน ที่รับมือได้ตั้งแต่แรกเกิด แต่เด็กไทย อาจได้รู้เมื่อสายเกินไป
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้
วิธีรับมือเมื่อเด็กทารกท้องเสีย และการป้องกันเบื้องต้น ที่แม่ต้องรู้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • ไอพีดี…ภัยในเด็ก ไอพีดี (IPD, invasive pneumococcal disease)
แชร์ :
  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 50 อาการธาลัสซีเมียในเด็ก

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 50 อาการธาลัสซีเมียในเด็ก

  • แม่ต้องรู้จัก “ไอพีดี” โรคร้ายในเด็กวัยต่ำกว่า 2 ขวบ

    แม่ต้องรู้จัก “ไอพีดี” โรคร้ายในเด็กวัยต่ำกว่า 2 ขวบ

  • สัญญาณท้องลูกสาว อาการที่บอกว่าท้องลูกสาว จะรู้ได้อย่างไรว่าท้องนี้ลูกสาวชัวร์

    สัญญาณท้องลูกสาว อาการที่บอกว่าท้องลูกสาว จะรู้ได้อย่างไรว่าท้องนี้ลูกสาวชัวร์

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

app info
get app banner
  • 100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 50 อาการธาลัสซีเมียในเด็ก

    100 สิ่งแม่ท้องต้องรู้ ตอนที่ 50 อาการธาลัสซีเมียในเด็ก

  • แม่ต้องรู้จัก “ไอพีดี” โรคร้ายในเด็กวัยต่ำกว่า 2 ขวบ

    แม่ต้องรู้จัก “ไอพีดี” โรคร้ายในเด็กวัยต่ำกว่า 2 ขวบ

  • สัญญาณท้องลูกสาว อาการที่บอกว่าท้องลูกสาว จะรู้ได้อย่างไรว่าท้องนี้ลูกสาวชัวร์

    สัญญาณท้องลูกสาว อาการที่บอกว่าท้องลูกสาว จะรู้ได้อย่างไรว่าท้องนี้ลูกสาวชัวร์

  • 10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

    10 ท่วงท่าสู่จุดสุดยอด Woman On Top ท่าเซ็ก ผู้หญิงอยู่บน 10 ท่ายาก จัดเต็ม

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ