X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์

บทความ 5 นาที
เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์

เนื้องอกมดลูก เป็นเนื้องอก ที่พบได้เยอะที่สุด ในผู้หญิง วัยเจริญพันธุ์ คือ นับตั้งแต่คนที่มีประจำเดือนมาแล้ว 2 ปี เป็นต้นไป เพราะฉะนั้น คนที่มีความเสี่ยง ที่จะเป็น เนื้องอกมดลูก มักจะมีอายุประมาณ 25 – 30 ปี ซึ่งถูกจัดว่า เป็นกลุ่ม วัยเจริญพันธุ์ โดยมีอัตรา 30 – 50 % ที่จะเกิดอาการนี้ ส่วนเนื้องอกที่จะเป็นเนื้อร้ายหรือไม่นั้น จำเป็นจะต้องทำการตรวจจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอีกที

เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์

ในจำนวนผู้ป่วย ที่เป็นเนื้องอกมดลูกนั้น 99 % มักจะไม่ใช่เนื้อร้าย หรือเนื้อมะเร็ง

ปัจจัยเสี่ยง ที่ทำให้เกิดโรค

1. ความเสี่ยง จากกรรมพันธุ์

2. การทำงานที่ผิดปกติ ของฮอร์โมนเพศหญิง ( เซลล์มดลูก จะทำปฏิกิริยา กับฮอร์โมนเพศหญิง จนเกิดเป็นก้อนเล็ก ๆ และ ขยายใหญ่ขึ้น ตามปริมาณของฮอร์โมน )

3 อาการหลัก ที่ชี้ว่า คุณอาจจะมีเนื้องอกในมดลูก

1. เกิดก้อน บริเวณท้องน้อย ซึ่งหากคลำเจอ นั่นแสดงว่า ขนาดก้อนเนื้องอกนั้น มีขนาดใหญ่ 15 เซนติเมตร ขึ้นไป จนทำให้เรา สามารถคลำเจอได้ ด้วยตัวเอง ส่วนจะ เสี่ยงหรือไม่ ควรที่จะไปตรวจเช็คกับทางแพทย์อีกครั้ง

2. ประจำเดือน ออกเยอะผิดปกติ บางครั้งออกเยอะ จนทำให้ เกิดอาการหน้ามืด เป็นลม ลักษณะของการเป็นโรคโลหิตจาง เนื่องจาก เนื้องอกอยู่ชิดกับ เยื่อบุโพรงมดลูก

3. สำหรับ ผู้ที่มีบุตรยาก อาจจะมีผล มาจากเนื้องอกที่จะฝังตัว อยู่ตามผนังมดลูก

เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์

กลุ่มที่เสี่ยง สำหรับโรคนี้ คือ

คนที่มีอัตราความเสี่ยง ในการเป็นโรคนี้ คือ กลุ่มคน วัยเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะคนที่มีอายุ ช่วง 25 – 30 ปี ส่วนกลุ่มคน ที่เข้าสู่วัยทอง เจ้าก้อนเนื้องอกนี้ จะหดตัวเล็กลงได้เอง นั่นเป็นเพราะ ขาดฮอร์โมนเข้าไปกระตุ้น การเจริญเติบโต

ความรุนแรง ที่เกิดจากโรคนี้

หากเป็นเนื้องอกในมดลูก แม้ว่าจะไม่เป็นอันตราย ถึงขั้นเป็นเนื้อร้าย หรือว่า มะเร็ง แต่ก็สามารถ สร้างความรบกวนในการใช้ชีวิตประจำวัน ได้เช่นกัน เพราะถ้าหาก ประจำเดือนมาเยอะเกินไป นอกจากจะทำให้ รู้สึกไม่สบายตัว เฉอะแฉะ เหนอะหนะ จนต้องคอยเปลี่ยนผ้าอนามัยเรื่อย ๆ แล้ว อาจจะทำให้ เกิดสภาวะโลหิตจาง เนื่องจาก เสียเลือดเยอะเกินไป

หากเจ้าก้อนเนื้องอก ยื่นออกไปด้านนอกมดลูก แล้วเกิดไปกดทับ บริเวณกระเพาะปัสสาวะ ก็จะทำให้ เกิดอาการปัสสาวะบ่อย และ ถี่ อาจส่งผลให้ ผู้ที่เป็น ไม่สามารถพักผ่อนได้เพียงพอ เพราะต้องคอยลุกไปเข้าห้องน้ำ อยู่ตลอดเวลา

หากตัวเนื้องอกนั้น ไปกดทับบริเวณลำไส้แทน ก็จะส่งผล ให้เกิดอาการท้องผูก และอาจส่งผล ให้เป็นมะเร็งลำไส้ได้ หากปล่อยทิ้งไว้ เป็นเวลานาน

เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์

วิธีการรักษา 

1. การกินยาคุมกำเนิด การกินยาคุมกำเนิดนั้น สามารถช่วยควบคุม การหลั่งของประจำเดือน ทำให้สามารถ ควบคุมปริมาณของฮอร์โมน ที่เป็นปัจจัยหลัก ทำให้ตัวเนื้องอกโตขึ้นได้

2. การรับประทานยา สำหรับการรักษาเนื้องอกมดลูกโดยเฉพาะ

3. การฉีดยารักษา

4. การผ่าตัด โดย การผ่าตัด จะแบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ การเอาออกเฉพาะเนื้องอก แล้วเก็บมดลูกเอาไว้ หรือ การตัดเอามดลูกออกไปเลย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับ การวินิฉฉัยของแพทย์เจ้าของเคส

การป้องกัน ไม่ให้อยู่ในกลุ่มเสี่ยง

การป้องกันที่ดีที่สุด คือ การหมั่นตรวจเช็คร่างกาย อยู่เป็นประจำ และ ต่อเนื่อง เนื่องจากทุกวันนี้ การทำอัลตร้าซาวน์ ( Ultrasound ) สามารถตรวจพบก้อนเนื้องอกได้ แม้ว่า เจ้าก้อนนี้ จะมีขนาดเพียงแค่ 1 – 2 เซนติเมตร ก็ตาม

ที่มา :

1. พบหมอ รามา ฯ  : “ เนื้องอกในมดลูก ” โรคฮิต ของสาว ๆ วัยทำงาน

2. “ เนื้องอกมดลูก ” เรื่องที่ผู้หญิง ควรจะต้องรู้ ……

3. เทคโนโลยี การรักษา ” เนื้องอกมดลูก และ ถุงน้ำรังไข่” ด้วยการ ผ่าตัดผ่านกล้อง

4. สัญญาณผิดปกติ ที่บ่งว่า ” คุณอาจจะมี เนื้องอกในมดลูกได้ “

5. สัญญาณโรค ” เนื้องอกมดลูก ” อย่ามองข้าม เพื่อป้องกัน ” ภาวะแทรกซ้อน ” ที่จะเกิดขึ้น กับคุณได้

6. เทคโนโลยีการรักษา เนื้องอกมดลูก และถุงน้ำรังไข่ ด้วยการผ่าตัดผ่านกล้อง

 

บทความจากพันธมิตร
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
วัคซีน IPD จำเป็นที่ต้องให้ลูกรับหรือเปล่า? มาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ 'โรคไอพีดี' และ 'วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี'
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
สารพัด ปัญหาของลูกน้อย ที่คุณแม่กังวลใจ ลูกงอแง ไม่สบายท้อง ท้องอืด มีผื่นคัน แก้ด้วย Little Shield
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
พ่อแม่เป็นภูมิแพ้ สาเหตุสำคัญของ ภูมิแพ้ในเด็ก ที่อาจถูกมองข้ามไป
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell
ปกป้องคนที่คุณรักให้ปลอดภัย ห่างไกลจาก RSV โควิด และ ฝุ่น PM 2.5 ด้วยเครื่องฟอกอากาศ Bwell

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

ammy

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • เนื้องอกมดลูก กับ วัยเจริญพันธุ์
แชร์ :
  • ท้องพร้อมเนื้องอก! แม่ท้องมีเนื้องอกมดลูกเกือบ30ซม. เบียดทารกอยู่ในท่าผิดปกติ

    ท้องพร้อมเนื้องอก! แม่ท้องมีเนื้องอกมดลูกเกือบ30ซม. เบียดทารกอยู่ในท่าผิดปกติ

  • ทางลัด 10 วิธีทำให้ท้องง่ายขึ้น ได้ลูกอย่างมีคุณภาพ ต้องทำแบบนี้

    ทางลัด 10 วิธีทำให้ท้องง่ายขึ้น ได้ลูกอย่างมีคุณภาพ ต้องทำแบบนี้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

  • ท้องพร้อมเนื้องอก! แม่ท้องมีเนื้องอกมดลูกเกือบ30ซม. เบียดทารกอยู่ในท่าผิดปกติ

    ท้องพร้อมเนื้องอก! แม่ท้องมีเนื้องอกมดลูกเกือบ30ซม. เบียดทารกอยู่ในท่าผิดปกติ

  • ทางลัด 10 วิธีทำให้ท้องง่ายขึ้น ได้ลูกอย่างมีคุณภาพ ต้องทำแบบนี้

    ทางลัด 10 วิธีทำให้ท้องง่ายขึ้น ได้ลูกอย่างมีคุณภาพ ต้องทำแบบนี้

  • กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

    กรุ๊ปเลือดแม่-ลูกไม่ตรงกัน มีผลกับสุขภาพลูกด้วยหรือ?

  • 8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

    8 วิธีง่าย ๆ อยากให้ลูกเก่งภาษาอังกฤษ พ่อแม่ไม่เก่งก็ฝึกลูกได้

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ