X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สเตอรอยด์ฮอร์โมนในน้ำคร่ำสูง ทำลูกเป็นออทิสติก

บทความ 3 นาที
สเตอรอยด์ฮอร์โมนในน้ำคร่ำสูง ทำลูกเป็นออทิสติก

งานวิจัยบ่งบอกว่าสเตอรอยด์ฮอร์โมน หรือฮอร์โมนเพศในน้ำคร่ำยิ่งมีสูง ความเสี่ยงที่จะทำให้ลูกเป็นออทิสติก ก็ยิ่งมีสูง เเละเพศชายเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง

โดยปกติแล้วการตรวจการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยการเจาะน้ำคร่ำ จะทำก็ต่อเมื่อการตั้งครรภ์นั้นๆ มีความเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็นอายุของคุณพ่อคุณแม่ ประวัติของเครือญาติและคนในครอบครัว ความผิดปกติต่างๆ ระหว่างการตั้งครรภ์ และจะทราบแน่ชัดว่าลูกเป็นออทิสติกหรือไม่ เมื่ออายุ 1-2 ควบ จากการตรวจร่างกาย และสังเกตพฤติกรรมและพัฒนาการนะคะ

ฮอร์โมนเพศในน้ำคร่ำสูง ความเสี่ยงเป็นออทิสติกสูง

งานวิจัยชิ้นใหม่จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ จึงได้ทำการวิจัยบนพื้นฐานของการตรวจหาแนวโน้มว่าเด็กจะเป็นออทิสติกหรือไม่ หรือมีความเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนตั้งแต่เจ้าตัวเล็กอยู่ในครรภ์เลยทีเดียวค่ะ โดยนักวิจัยได้ทำการวิเคราะห์น้ำคร่ำของแม่ตั้งครรภ์กลุ่มตัวอย่าง จากการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยการเจาะน้ำคร่ำ ตอนอายุครรภ์ประมาณสัปดาห์ที่ 15-16 เพื่อวินิจฉัยว่าลูกมีความเสี่ยงเป็นออทิสติกหรือไม่

ซึ่งจำนวนกลุ่มตัวอย่างจากแม่ตั้งครรภ์ที่ตั้งครรภ์ทารกเพศชายนั้น พบว่าฮอร์โมนเพศ หรือ sex steroid hormones 4 ฮอร์โมนสำคัญในน้ำคร่ำเป็นกุญแจสำคัญที่เป็นต้นเหตุของออทิสติก ได้แก่ ฮอร์โมนโปรเจนทอโรน ฮอร์โมนเทสโทสทอโรน ฮอร์โมน 17แอลฟา-ไฮดรอกซิโพรเจสเทอโรน และฮอร์โมนแอนโดรสตีนไดโอน

เพศชายเป็นออทิสติกมากกว่าเพศหญิง

หากน้ำคร่ำที่มีฮอร์โมนทั้ง 4 ตัวนี้ ในปริมาณที่สูงมากกว่าปกติ จะทำให้ทารกในครรภ์เป็นออทิสติก ซึ่งก็เป็นคำอธิบายว่า ทำไมจำนวนคนที่เป็นออทิสติกส่วนใหญ่ถึงเป็นเพศชาย นั่นก็เพราะฮอร์โมนเพศชายเป็นสาเหตุของการเป็นออทิสติกนั่นเองค่ะ ซึ่งหากมีปริมาณฮอร์โมนเพศชายที่สูง จะส่งผลให้สมองพัฒนาได้ช้ากว่าที่ควรจะเป็น ทำให้มีพัฒนาการของทารกในครรภ์บกพร่องในหลายๆ ด้าน แต่จะเห็นผลได้ชัดเจนเมื่อเด็กมีอายุได้ 1-2 ขวบมากที่สุด

การเลี้ยงเด็กออทิสติกไม่ใช่เรื่องง่ายค่ะ วิธีที่ดีที่สุดคือคุณพ่อคุณแม่ต้องตรวจคัดกรองความเสี่ยงตั้งแต่ตั้งครรภ์ เพราะหากได้รับการวินิจฉัยที่รวดเร็วแล้ว การรับมือที่ทันท่วงทีและเหมาะสม จะทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นมากได้ และสามารถใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่นในสังคมได้ค่ะ

ที่มา sciencedaily.com

theAsianparent Community

Advertisement

 

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • สเตอรอยด์ฮอร์โมนในน้ำคร่ำสูง ทำลูกเป็นออทิสติก
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว