X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • พัฒนาการลูก
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • การศึกษา
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ สะดือของลูกวัยเบบี๋ที่แม่มักกังวล

บทความ 5 นาที
สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ สะดือของลูกวัยเบบี๋ที่แม่มักกังวลสะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ สะดือของลูกวัยเบบี๋ที่แม่มักกังวล

หลังจากที่คุณหมอตัดสายสะดือออกให้แล้ว เราควรดูแลสะดือลูกอย่างไรไม่ให้อักเสบและเป็นหนอง มาดูกัน!

เบบี๋ตัวน้อยที่เพิ่งคลอดออกมา จะยังมีสายสะดือติดอยู่บนตัว หลังจากที่คุณหมอตัดสายสะดือออกให้แล้ว หาก สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ ต้องทำอย่างไร

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ สะดือทารกเป็นหนอง สะดือของลูกวัยเบบี๋ ที่แม่มักกังวล

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ

สายสะดือลูก กี่วันหลุด

สำหรับสายสะดือทารกแรกเกิดนั้น จะแห้งและหลุดไปภายใน 2 สัปดาห์ หรือถ้าช้าก็ต้องไม่เกิน 1 เดือน หากสายสะดือ ทารกยังไม่หลุด เกิน 30 วัน ถือว่ามีความผิดปกติ อาจมีการติดเชื้อ โดยวันแรกของการกลับบ้าน ทารกจะยังมีสายสะดือติดตัว ซึ่งเป็นสายรกที่เชื่อมสายใย ระหว่างแม่สู่ลูกภายในครรภ์ ทำหน้าที่ส่งต่อสารอาหารและอ็อกซิเจน เลี้ยงดูจนลูกน้อยเติบโตอย่างแข็งแรงภายในท้อง ก่อนลูกจะอุแว๊ออกมาดูโลก แล้วสายรกก็เปลี่ยนชื่อเป็น สายสะดือ

ในห้องคลอดนั้น แพทย์และพยาบาล จะทำการตัดสายสะดือของทารก จนเหลือเป็นสายสะดือตอเล็ก ๆ ราว ๆ 1 นิ้ว หรือประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร และวันที่ลูกน้อยออกจากโรงพยาบาล พ่อแม่จะพาลูกกลับบ้านไปพร้อมกับสายสะดือที่ยังติดอยู่ ลักษณะของสะดือนั้นจะมีสีอ่อน ๆ ยังไม่แห้ง

วันที่ 4 – 10 สายสะดือเริ่มแห้ง

ภายใน 10 วัน สายสะดือของทารกมักจะแห้ง และสีเริ่มคล้ำ ทารกบางราย สายสะดือจะหลุดแล้ว

หากเกินวันที่ 10 สายสะดือมักจะหลุดแล้ว

หลังจากที่สายสะดือหลุด อาจจะมีเลือดออกนิดหน่อย บางทีสายสะดือก็ยังหลุดไม่หมด

วันที่ 14 – 18 ร่างกายทารกเริ่มสร้างผิวหนังบริเวณสะดือ

หากสายสะดือหลุดไปแล้ว ร่างกายของทารกจะเริ่มสร้างเยื่อและพัฒนาต่อมาเป็นผิวหนัง จนกลายเป็นสะดือในที่สุด

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ

ข้อควรระวัง สายสะดือทารกแรกเกิด

หากเกิดกลิ่นเหม็นบริเวณสะดือ เกิดอาการบวมแดงของผิวหนังรอบสะดือ หรือสะดือยังแฉะ ไม่แห้งสักที แม้ว่าสะดือจะหลุดไปแล้วก็ตาม ให้รีบพาลูกไปโรงพยาบาล เพราะอาจเกิดการติดเชื้อ

ผิวหนังรอบสะดือบวมแดง หรือสะดือยังแฉะอยู่หลายวัน หลังจากสะดือหลุดแล้วควรพาทารกมาพบแพทย์

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ 

  • ภาวะเลือดออกที่สะดือ  

ในทารกแรกคลอดปกติอาจมีเลือดออกเล็กน้อยก่อนสะดือจะหลุด และหลังสะดือหลุด บางรายที่มีเลือดไหลซึมออกจากสะดือตลอดเวลา จำเป็นต้องหาสาเหตุและแก้ไขโดยรีบด่วน สาเหตุที่พบบ่อย ๆ คือ

  1. กรณีที่เลือดไหลซึมออกจากสะดือในระยะแรก หลังคลอด อาจเกิดจากผูกสายสะดือไม่แน่น ต้องเช็คดูว่าผูกสายสะดือแน่นพอหรือไม่
  2. ช่วงสะดือกำลังแยกหลุด ถ้าดูแลทำความสะอาดไม่ดีหรือไม่แห้ง ทำให้เกิดมีน้ำเหลืองปนเลือดไหลซึมอยู่เรื่อย ๆ
  3. หลังสะดือหลุด อาจมีก้อนเลือดแห้งติดอยู่ ต่อมาก้อนเลือดนี้จะเหลวและไหลซึมออกมาคล้ายเลือดไหล เมื่อเช็ดก้อนเลือดนี้ออกปัญหาเลือดออกก็จะหมดไป
  4. Hemorrhagic disease of the newborn เป็นอาการเลือดออกผิด ปกติที่เกิดจากการขาด vitamin K dependent factors ชั่วคราวอย่างรุนแรง อาการเลือดออกผิดปกติที่พบได้บ่อยที่สุดคือ การที่มีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร นอกจากนี้ยังพบว่ามีเลือดออกจากสายสะดือ, จมูก, ผิวหนัง และอวัยวะภายในบางอย่าง พบได้ในเด็กแรกเกิดอายุ 2-3 วันแรก บางรายอาจเร็วคือ เมื่ออายุ 1 วัน หรือบางรายอาจจะช้า เช่น อายุ 14 วัน ในเด็กที่เป็นโรคนี้ส่วนใหญ่จะเลี้ยงด้วยนมแม่ วินิจฉัยโรคนี้ได้จาก blood coagulation study พบว่ามี prolonged PT, PTT โดยค่า TT อยู่ในเกณฑ์ปกติ

การรักษา

- ในกรณีที่เลือดไหลจากสะดือเพราะผูกสายสะดือไม่แน่นพอ ก็ผูกใหม่ให้แน่น

- ในรายที่มีเลือดออกจากสะดือตลอดเวลาสงสัย ให้รับไว้ในโรงพยาบาล

  • สะดือมีน้ำเหลือง

ในภาวะปกติสะดือจะแห้งและหลุดภายใน 6-8 วันหลังคลอด ส่วนของ raw surface จะถูกผิวหนังปกคลุม และแผลจะหายภายใน 10-12 วัน

ในช่วงที่สะดือเริ่มแยกหลุดจะมีน้ำเหลืองซึมแฉะเล็กน้อย กลายเป็น media ให้เชื้อบักเตรีเจริญได้ดีในระยะนี้ ถ้าตัวสะดือไม่ได้รับการดูแลทำความสะอาดและทำให้แห้งพอ อาจเกิดการติดเชื้อ ทำให้สะดือหลุดช้า และกระตุ้นให้เกิด granulation tissue ขึ้น

อาการแสดง
จะพบมีน้ำเหลือง หรือน้ำเหลืองบนเลือด ไหลซึมออกจากสะดือภายหลังจากที่สายสะดือหลุดทำให้โคนสะดือเปียกแฉะอยู่ได้นาน ๆ เมื่อแยกส่วน navel ออกจะเห็น granulation tissue สีค่อนข้างแดงยืนขึ้นมาเล็กน้อย

การรักษา 
ใช้แท่ง silver nitrate จี้ทำลาย และพยายามรักษาบริเวณสะดือให้สะอาดและแห้ง โดยการเช็ดด้วย 70% alcohol ให้ถึงโคนสะดือ เช็ดวันละ 2-3 ครั้ง ต้องระวังไม่ให้ silver nitrate ถูกผิวหนังปกติ จะทำให้ผิวหนังไหม้

สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ

  • สะดืออักเสบ

สาเหตุ

มีการติดเชื้อบักเตรี ส่วนใหญ่เป็นพวก staphylococci และ gram-negative organism

อาการแสดง
การอักเสบบริเวณสะดือจะเห็นสะดือแฉะ อาจมีเป็นน้ำเหลือง หรือหนอง  ในบางครั้งอาจลุกลามไปยังบริเวณเนื้อเยื่อรอบ ๆ สะดือ ทำให้เกิดการอักเสบบวมแดงรอบ ๆ สะดือ และเชื้อบักเตรีอาจลุก ลามเข้า umbilical vein, umbilical arteries เกิด phlebitis, arteritis เชื้ออาจลุกลามจนถึงเข้ากระแสเลือด เกิด sepsis ตามมา

การรักษา
กรณีที่มีสะดือแฉะ มี discharge คล้ายหนองออกมาเล็กน้อย แหวกดูไม่มี granulation tissue ผิวหนังรอบ ๆ สะดือไม่บวมแดง อาการทั่วไปของเด็กยังดีอยู่ ให้ใช้ 70% alcohol หยอด และซับให้แห้ง

สำหรับรายที่ผิวหนังรอบ ๆ สะดือบวมแดงชัดเจน หรือเป็นฝีหนอง หรือ เด็กมีอาการทั่ว ๆ ไปไม่ดีที่บ่งชี้ว่าอาจเกิด sepsis ให้รับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อรับการตรวจอย่างละเอียด และให้การรักษาด้วย parenteral antibiotics ต่อไป

ที่มา : www.healthcarethai.com

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

วิธีทำความสะอาดสะดือลูกน้อย สำหรับคุณแม่มือใหม่

อาบน้ำลูกอย่างไรให้ปลอดภัย

ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

บทความจากพันธมิตร
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
น้องนดลต์ และน้องนภนต์ ฝาแฝดที่สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรง กับโอกาสสำคัญที่พลิกชีวิตสมาชิกทั้งครอบครัว
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
BASIS Bangkok โรงเรียนนานาชาติชั้นนำระดับโลก ที่ปูพื้นฐานความเป็นเลิศตั้งแต่ระดับชั้นเด็กเล็ก
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เช็กให้ชัวร์ลูกสูงตามเกณฑ์
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER
เคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการลูก จากการอาบน้ำด้วยฝักบัวทารกและเด็กเล็ก PUREDOT ZERO WATER

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Weerati

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • สะดือลูกเลือดออก มีน้ำเหลือง อักเสบ สะดือของลูกวัยเบบี๋ที่แม่มักกังวล
แชร์ :
  • ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

    ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

  • 5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

    5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

app info
get app banner
  • ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

    ลูกแรกเกิดสะดือจุ่น สะดือโป่ง คนโบราณให้ใช้เหรียญปิดสะดือเพื่อรักษา หรือหาหมอดี?

  • 5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

    5 เกร็ดความรู้การดูแลผิวพรรณเด็กแรกเกิด

  • 12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

    12 ท่ายาก ท่ามีเพศสัมพันธ์ คะแนนเยอะ ตามตำรากามสูตร ที่คืนนี้ต้องจัด

  • ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

    ฝีดาษลิง เสี่ยงเสียชีวิตสูงในกลุ่มเด็กเล็ก ป้องกันได้อย่างไร ?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2022. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ