X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

มีลูกติดกันหรือมีลูกหัวปีท้ายปีต้องรู้!! บางคนก็ว่าดี แต่ก็มีความเสี่ยง?

บทความ 3 นาที
มีลูกติดกันหรือมีลูกหัวปีท้ายปีต้องรู้!! บางคนก็ว่าดี แต่ก็มีความเสี่ยง?

พ่อแม่หลายคู่มักจะตัดสินใจมีลูกในวัยไล่เลี่ยกัน ด้วยเหตุผลที่ว่าแม่จะเลี้ยงดูเหนื่อยกันไปเลยทีเดียว แถมพี่น้องที่เกิดในวัยใกล้ ๆ กันจะได้เป็นเพื่อนดูแลกัน คุยกันได้ง่ายไปจนโต

มีลูกติดกัน หรือปล่อยให้มีลูกหัวปีท้ายปี ไม่ใช่ปัญหาสำหรับครอบครัวที่มีปัจจัยพร้อมทั้งร่างกายและเงินในกระเป๋า แต่อาจจะเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นได้กับครอบครัวที่ไม่พร้อม เพราะการไม่ได้ป้องกันหรือป้องกันแล้วแต่เกิดผิดพลาดไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง และยังมีอีกหนึ่งปัญหาที่ตามได้สำหรับแม่มีลูกเกิดมาติด ๆ กัน

มีลูกติดกัน บางคนก็ว่าดี แต่ก็มีความเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน!

มีลูกติดกัน

ข้อดีของการมีลูกมีลูกหัวปีท้ายปี

  • ผลวิจัยระบุว่า เด็กที่เริ่มต้นมีน้องตอนอายุต่ำกว่า 2 ปี จะไม่รู้สึกระแวดระวังหรือกลัวถูกแย่งความรักจากน้องใหม่ที่เพิ่มเติมเข้ามา
  • ลูกที่เกิดในวัยไล่เลี่ยกันจะกลายเป็นเพื่อนเล่นกันได้ดี แบบไม่ต้องกลัวเหงา เด็กทั้งคู่จะสนุกกับการใส่เสื้อเหมือนกัน เล่นของเล่นชิ้นเดียวกัน พูดคุยกันรู้เรื่อง แม้ไม่ใช่คู่แฝดก็ตาม
  • การมีลูกที่ต้องเลี้ยงในเวลาที่ติด ๆ กันถึงสองคน จะเป็นเหตุผลดี ๆ ที่ช่วยดึงให้สามีคอยกลับบ้านเร็วหรืออยู่ติดบ้านในวันหยุด เพื่อช่วยคุณแม่เลี้ยงลูก เป็นพ่อบ้านที่ดีต่อครอบครัว
  • การมีลูกที่เว้นระยะห่างแค่ปีสองปีจะทำให้คุณแม่รู้สึกเหนื่อยครั้งเดียวในช่วงเวลาที่ลูกเป็นเด็กเท่านั้น เพราะเมื่อพวกเขาโตมาเป็นผู้ใหญ่พร้อม ๆ กันก็จะมีคนดูแลพ่อแม่กลับคืนให้สบายหายห่วงถึงสองคน

ข้อเสียของการมีลูกหัวปีท้ายปี

มีลูกติดกัน

ความเหน็ดเหนื่อยจะเกิดขึ้นกับคุณแม่เป็นอีกหนึ่งเท่า เพราะลูกแต่ละคนอาจมีลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน และอาจเกิดการทะเลาะกันบ่อย เช่นเรื่องแย่งของเล่น แต่สิ่งสำคัญสำหรับคุณแม่ที่กำลังคิดตัดสินใจในการมีลูกคนที่สองต่อกันจากคนแรกเลย จะมีความเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุนมากขึ้นในอนาคตหรือในหลังวัยหมดประจำเดือน ซึ่งมีสาเหตุโดยตรงมาจากการตั้งครรภ์ การให้นมลูก และช่วงวัยขณะมีลูกคนแรก

แพทย์หญิง ดร.กัลซิน ซาห์อิน เอสรอย นักวิจัยจากสถาบันการแพทย์เยล เมืองนิวเฮเวน รัฐคอนเนตทิคัต ประเทศสหรัฐอเมริกา กล่าวว่า หากคุณแม่คิดจะมีลูกคนที่สอง ควรทิ้งช่วงการตั้งครรภ์ให้ห่างอย่างน้อย 2 ปี เนื่องจากระหว่างตั้งครรภ์ คุณแม่ต้องแบ่งแคลเซียมในกระดูกของตัวเองไปสร้างกระดูกให้ลูก จนกว่าจะหมดระยะการให้นม ฉะนั้นในช่วงเวลา 1 ปีที่ดูแลลูกคนแรกอยู่นั้น จึงยังไม่เพียงพอในการสร้างมวลกระดูกกลับมาเติมเต็มได้

อย่างไรก็ตาม หากคุณแม่ต้องการที่จะมีลูกในวัยไล่เลี่ยกัน แพทย์หญิง ดร. นาเนตเต ซานโตโร ประธานสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา จากสถาบันการแพทย์ มหาวิทยาลัยโคโลราโด ได้แนะนำว่า คุณแม่ที่ต้องการมีลูกหัวปีท้ายปี สามารถเสริมสร้างกระดูกได้ด้วยการกินแคลเซียม วิตามินดี และออกกำลังกาย แต่ทั้งนี้การเว้นระยะตั้งครรภ์ตามคำแนะนำจะเป็นผลดีต่อสุขภาพกระดูกมากกว่าค่ะ


ที่มา : www.goodlifeupdate.com

บทความอื่นที่น่าสนใจ :

มีลูกหัวปีท้ายปี: ฉันท้องตอนลูกเพิ่งสองเดือน

มีลูกหัวปีท้ายปี หรือห่างกันหลายปี แบบไหนดีกว่ากัน

parenttown

บทความจากพันธมิตร
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
เริ่มต้นให้เหนือกว่า…เคล็ดลับสร้างสมองไวให้เด็กผ่าคลอด พร้อมเสริมภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เปิดบ้านต้อนรับคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยาก ชวนทำความรู้จัก คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ที่พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • มีลูกติดกันหรือมีลูกหัวปีท้ายปีต้องรู้!! บางคนก็ว่าดี แต่ก็มีความเสี่ยง?
แชร์ :
  • มีลูกหัวปีท้ายปี หรือห่างกันหลายปี แบบไหนดีกว่ากัน

    มีลูกหัวปีท้ายปี หรือห่างกันหลายปี แบบไหนดีกว่ากัน

  • มีลูกหัวปีท้ายปี: ฉันท้องตอนลูกเพิ่งสองเดือน

    มีลูกหัวปีท้ายปี: ฉันท้องตอนลูกเพิ่งสองเดือน

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • มีลูกหัวปีท้ายปี หรือห่างกันหลายปี แบบไหนดีกว่ากัน

    มีลูกหัวปีท้ายปี หรือห่างกันหลายปี แบบไหนดีกว่ากัน

  • มีลูกหัวปีท้ายปี: ฉันท้องตอนลูกเพิ่งสองเดือน

    มีลูกหัวปีท้ายปี: ฉันท้องตอนลูกเพิ่งสองเดือน

  • โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

    โอ้ละพ่อ! เด็ก ป.1 หายตัวปริศนา แจ้งตามหากันให้วุ่น สรุปสุดท้าย อยู่ในห้องเรียนนั่นแหละ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ