X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

มะเร็งเต้านม อันตรายที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้าม

1 Sep, 2015

การมีสุขภาพที่แข็งแรง ย่อมเป็นสิ่งที่ทุกคนปราถนา ยิ่งโดยเฉพาะในผู้หญิงสุขภาพย่อมต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง นั่นเพราะคุณไม่ได้มีชีวิตอยู่แค่เพื่อตัวเองเท่านั้น คุณยังต้องอยู่เพื่อลูก เพื่อครอบครัว…มะเร็งเต้านม เป็นภัยทางสุขภาพอับดับสองของผู้หญิง ไปดูกันว่าเมื่อเราคลำพบก้อนที่เต้านม ก้อนแบบไหน มีอาการเจ็บ หรือไม่เจ็บ แบบไหนอันตรายกว่ากัน รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมในผู้หญิง ที่จะมีสาเหตุจากปัจจัยใดได้บ้าง และวิธีการตรวจเต้านมด้วยตัวเองเบื้องต้น เพื่อให้ผู้หญิง และคุณแม่ทุกคนได้รู้ก่อน ได้ป้องกันตัวเองจากมะเร็งเต้านมกันค่ะ

มะเร็งเต้านม อันตรายที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้าม

มะเร็งเต้านม อันตรายที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้าม

การมีสุขภาพที่แข็งแรง ย่อมเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ยิ่งโดยเฉพาะในผู้หญิงสุขภาพย่อมต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง นั่นเพราะคุณไม่ได้มีชีวิตอยู่แค่เพื่อตัวเองเท่านั้น คุณยังต้องอยู่เพื่อลูก เพื่อครอบครัว…มะเร็งเต้านม เป็นภัยทางสุขภาพอับดับสองของผู้หญิง ไปดูกันว่าเมื่อเราคลำพบก้อนที่เต้านม บางคนจับแล้วเจ็บ บางคนจับแล้วไม่เจ็บ แบบไหนอันตรายกว่ากัน รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมในผู้หญิง มีสาเหตุจากปัจจัยใดได้บ้าง และวิธีการตรวจเต้านมด้วยตัวเองเบื้องต้น เพื่อให้ผู้หญิง และคุณแม่ทุกคนได้รู้ก่อน ได้ป้องกันตัวเองจากมะเร็งเต้านมกันค่ะ
ก้อนที่เต้านม อาการเริ่มแรกของมะเร็งเต้านม

ก้อนที่เต้านม อาการเริ่มแรกของมะเร็งเต้านม

2 อาการที่มักพบว่าเกิดขึ้นได้กับเต้านม นั่นคือ
- มีอาการเจ็บบริเวณเต้านม เมื่อคลำดูมักพบว่ามีก้อนเกิดขึ้น ซึ่งเรามักจะไปหาหมอเพื่อตรวจหาความผิดปกติให้แน่ชัดว่าจะเป็นก้อนเนื้ออันตรายหรือไม่
- มีก้อนที่เต้านม เมื่อคลำดูไม่มีอาการเจ็บ ซึ่งเรามักไม่ไปหาหมอเพื่อตรวจดูความผิดปกติ เพราะไม่มีอาการเจ็บ แต่ในความเป็นจริงแล้วก้อนที่เราคลำแล้วไม่เจ็บนั้นอันตรายยิ่งกว่า
ก้อนที่เต้านมแบบไหน ที่ควรต้องระวัง

ก้อนที่เต้านมแบบไหน ที่ควรต้องระวัง

- ซีสเต้านม : จะมีการเปลี่ยนแปลงตามรอบเดือน โตก่อนรอบเดือนมา และจะเล็กลงหลังรอบเดือนหมดแล้ว โดยส่วนมากซีสจะรู้สึกเจ็บที่ก้อน
- มะเร็งเต้านม : ร้อยละ 90 ของคนที่เป็นมะเร็งเต้านม ระยะเริ่มแรกจะมีแต่ก้อน จะไม่อาการเจ็บใดๆ จึงทำให้ผู้หญิงส่วนใหญ่ที่มีก้อนที่เต้านม แต่ไม่มีอาการเจ็บ มักจะไม่ไปพบหมอ เพราะคิดว่าไม่น่าจะเป็นอันตราย พอปล่อยทิ้งไว้ ก้อนมะเร็งใหญ่อาการเจ็บถึงจะปรากฎขึ้น
อาการของมะเร็งเต้านม

อาการของมะเร็งเต้านม

มะเร็งเต้านมโดยส่วนมากแล้วจะไม่มีอาการเจ็บปวดใดๆ พบเพียงก้อนที่เกิดขึ้นเท่านั้น ซึ่งเราสามารถสังเกตอาการของร่างกายได้ดังนี้ หากเป็นมะเร็งเต้านมก้อนที่คลำได้มักจะแข็ง และขรุขระ อาการอื่นๆ ที่สามารถพบร่วมด้วยคือ ผิวหนังที่เต้านมบุ๋มลงคล้ายลักยิ้ม หรือเต้านมมีรูปร่างผิดไปจากเดิม หรืออาจมีแผลที่หัวนม รอบหัวนม มีน้ำเหลือง หรือเลือดไหลออกจากหัวนม ดังนั้นหากพบว่ามีอาการของก้อนเกิดขึ้นที่เต้านม ไม่ว่าจะคลำดูแล้วเจ็บ หรือไม่เจ็บ ก็ควรต้องรีบไปพบคุณหมอตั้งแต่มีอาการเริ่มแรก เพื่อการตรวจวินิจฉัยได้ตั้งแต่เบื้องต้น และเพื่อรับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม

ใครบ้างที่เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม

1. พบว่าอายุเป็นปัจจัยเสี่ยงมากสุดต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ยิ่งอายุมากขึ้น ยิ่งมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมสูงถึงร้อยละ 50-60
2. เคยผ่าตัดก้อนเนื้อที่เต้านม
3. เป็นซีสที่เต้านมชนิดที่เริ่มผิดปกติ (Atypia)
4. คนในครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็งเต้านม
5. ประจำเดือนมาครั้งแรกตั้งแต่อายุยังน้อย
6. ไม่มีบุตร หรือมีบุตรยาก
วิธีตรวจเต้านมด้วยตนเอง

วิธีตรวจเต้านมด้วยตนเอง

1. ถอดเสื้อและยกทรงออก ยืนส่องกระจกดูเต้านมแต่ละข้าง สังเกตการเปลี่ยนแปลงลักษณะของรูปร่าง, ขนาดหรือสีของหัวนม สังเกตดูระดับของหัวนมแต่ละข้างว่าเท่ากันหรือไม่ มีปื้นหรือผื่นบนหัวนมหรือไม่ มีผิวหนังบุ๋มลงหรือไม่
2. ยกแขนทั้งสองข้างเหนือศีรษะ หันด้านข้างส่องกระจกดูทีละข้าง สังเกตเต้านมทั้งหมดที่เห็น ว่ามีอะไรผิดปกติ เหมือนในข้อ 1 หรือไม่
3. หันหน้าตรงเข้ากระจกอีกครั้ง เอามือจับสะโพกทั้งสองข้าง และกดสะโพกไว้แรงๆ จนรู้สึกว่ากล้ามเนื้อที่หน้าอกแข็งเกร็งขึ้นมา สังเกตความผิดปกติอีกครั้ง
4. โน้มตัวโค้งไปข้างหน้า ให้หน้าอกสองข้างห้อยดิ่งลง สังเกตดูว่ามีรอยบุ๋ม หรือโป่งพองของผิวหนังที่เต้านมหรือไม่ สังเกตดูรูปร่างของเต้านม และสังเกตว่ามีรอยบุ๋มที่หัวนมทั้งสองข้างหรือไม่

อ้างอิงข้อมูลจาก SIRIRAJ, Waithong
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • สุขภาพ
  • /
  • มะเร็งเต้านม อันตรายที่ผู้หญิงไม่ควรมองข้าม
แชร์ :
  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • แม่เช็คด่วน สัญญาณอันตรายของมะเร็งเต้านม

    แม่เช็คด่วน สัญญาณอันตรายของมะเร็งเต้านม

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

    อาการมะเร็งเต้านม กับสัญญาณเตือนภัยจากร่างกาย

  • แม่เช็คด่วน สัญญาณอันตรายของมะเร็งเต้านม

    แม่เช็คด่วน สัญญาณอันตรายของมะเร็งเต้านม

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ