X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้ กี่เดือนแผลจะดีขึ้นเป็นปกติ

บทความ 3 นาที
ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้ กี่เดือนแผลจะดีขึ้นเป็นปกติ

ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้ เเน่นอนว่าหากคุณเเม่ผ่าคลอด การรักษาตัวย่อมจะนานกว่าคุณเเม่ที่คลอดลูกเอง เเต่นานเเค่ไหนนะถึงจะกลับมาทำงานหนักๆ ได้อีกครั้ง

ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้ เเน่นอนว่าหากคุณเเม่ผ่าคลอด การรักษาตัวย่อมจะนานกว่าคุณเเม่ที่คลอดลูกเอง เเต่นานเเค่ไหนนะถึงจะกลับมาทำงานหนักๆ ได้อีกครั้ง

 

ผ่าคลอดยกของหนักได้เมื่อไหร่ ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้

ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้  หลังจากการผ่าคลอด คุณแม่หลาย ๆ คนอาจเกิดความสงสัยว่า ต้องใช้เวลาพักฟื้นนานเท่าไร แผลผ่าคลอดจึงจะหายดี และสามารถกลับไปทำกิจวัตรประจำวันต่าง ๆ รวมถึงกลับไปทำงานหนักได้เหมือนเดิม

ในการผ่าคลอดนั้น คุณแม่จะรู้สึกเจ็บแผลและต้องใช้เวลาพักฟื้นนานกว่าการคลอดธรรมชาติ เพราะการผ่าคลอดจะทำให้เกิดแผลที่หน้าท้อง และแผลในชั้นกล้ามเนื้อท้องที่ถูกผ่าออก ทำให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องลดลง และหากหมอเย็บไม่ดีก็จะทำให้ผนังหน้าท้องหย่อนยาน และมีแผลเป็นที่มดลูกได้

 

ช่วงเวลาหลังจากที่คุณแม่ผ่าคลอด

  • ปกติเเล้วการผ่าคลอดจะใช้เวลา 45 นาที ต่อการทำคลอดปกติ 1 ครั้งค่ะ
  • เเละคุณเเม่จะตื่นขึ้นมาภายใน 1 ชั่วโมงหลังจากที่ผ่าตัดเสร็จ ในระหว่างนี้ยาเเก้ปวดเเละความรู้สึกเจ็บต่างๆ จะยังไม่เด่นชัด เป็นช่วงเวลาที่ดี ที่คุณเเม่จะเอาลูกเข้าเต้าให้เร็วที่สุด หลังจากตื่นขึ้นมานะคะ เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างน้ำนมค่ะ
  • หลังจากวันที่ 3-4 คุณเเม่ก็สามารถออกจากโรงพยาบาลได้เเล้วนะคะ หากไม่มีปัจจัยหรืออาการเเทรกซ้อน
  • ส่วนมากแผลผ่าคลอดจะใช้เวลารักษาบาดแผลภายนอกให้ติดกัน ภายใน 1 สัปดาห์

ซึ่งในช่วงระหว่างนี้คุณแม่สามารถทำกิจกรรมเบา ๆ ทำงานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ แต่ยังไม่ควรยกของหนักในช่วงนี้นะคะ เนื่องจากแผลผ่าตัดหน้าท้องต้องใช้ระยะเวลาในการสมานแผล และซ่อมแซมเนื้อเยื่อให้กลับมาแข็งแรงอีกครั้ง หากคุณแม่ฝืนออกแรงยกของหนัก จะทำให้กล้ามเนื้อบริเวณหน้าท้องเกิดอาการเกร็ง จนทำให้แผลผ่าคลอดหรือมดลูกกระทบกระเทือน แผลอาจปริและฉีกขาดได้ค่ะ

 

burma-636373_640 (1)

ผ่า คลอด ยก ของ หนัก

 

  • หลังจากผ่าคลอด 1 เดือน ทั้งแผลผ่าคลอดและมดลูกจะเริ่มกลับมาเข้าที่และแข็งแรงมากขึ้น

โดยคุณแม่สามารถออกกำลังกาย หรือทำกายบริหารเพื่อให้ร่างกายฟื้นฟูสภาพให้กลับมาเป็นปกติให้เร็วที่สุด โดยบริหารร่างกายครั้งละอย่างน้อย วันละ 15 นาที

  • หลังจากผ่าคลอด 6 สัปดาห์ รอยแผลจากการผ่าตัดคลอดก็จะหายดีเป็นปกติ ซึ่งในช่วงนี้จะเป็นระยะเวลาหลังจากผ่าคลอดที่คุณเเม่เเละคุณพ่อสามารถมีเซ็กซ์เเบบสอดใส่ได้เเล้วนะคะ เเต่เดี๋ยวก่อน ก่อนจะลงมือนั้น คุณพ่อต้องเเน่ใจจริงๆ ด้วยว่า คุณเเม่อยากที่จะมีเซ็กซ์กับคุณพ่อ เพราะเเม้ว่าร่างกายจะพร้อมเเล้ว เเต่จิตใจก็สำคัญเหมือนกันนะคะ
  • หลังจากผ่าคลอดประมาณ 12 สัปดาห์ หรือ 3 เดือน คุณแม่จึงสามารถเริ่มยกของหนักได้ สามารถทำงานหนักได้ และกลับไปทำงานที่ทำงานได้ปกติ รวมถึงสามารถออกแรงในกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่อีกด้วยค่ะ

เเต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับร่างกายเเละความเเข็งเเรงของคุณเเม่เเต่ละคนด้วยค่ะ ถ้าไม่เเน่ใจจริงๆ ไม่ควรฝืนตัวเอง เเต่ควรปรึกษาเเพทย์ที่เชี่ยวชาญก่อนที่จะทำงานหนักหรือออกเเรงอย่างหนักนะคะ

 

ถ้าหากคุณเป็นคุณแม่สายโซเชียล ชอบเล่น Facebook หาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ขอเชิญมาร่วม join กรุ๊ป เพื่อบอกเล่าประสบการณ์ต่างๆ ใน คลับแม่ผ่าคลอด (C Section Club) กันได้นะคะ

 

วิธีดูแลตัวเองหลังคลอด จะคลอดเองหรือผ่าคลอด ก็ฟื้นตัวเร็วได้

เคลียร์ทุกข้อสงสัย เจาะลึกทุกประเด็นของคุณแม่ผ่าคลอด

ค้นหาคำตอบกันได้ที่ “คลับแม่ผ่าคลอด” คลิก!!https://bit.ly/32T4NsU

 

 

ที่มา Parents และ Independent

บทความที่น่าสนใจ

แผลผ่าคลอดกี่วันหาย ทำอย่างไรไม่ให้นูนแดง

ผ้ารัดหน้าท้อง หลังผ่าคลอดสำคัญหรือไม่อย่างไร

 

บทความจากพันธมิตร
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
แม่ท้องอย่ามองข้าม อาการท้องผูก ในระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการแท้งได้จริง?
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • การคลอด
  • /
  • ผ่าคลอดกี่เดือนถึงทำงานหนักได้ กี่เดือนแผลจะดีขึ้นเป็นปกติ
แชร์ :
  • ผ่าคลอดเบื้องต้น เรียนรู้ทุกอย่างที่คุณควรจะทราบเกี่ยวกับการผ่าคลอด

    ผ่าคลอดเบื้องต้น เรียนรู้ทุกอย่างที่คุณควรจะทราบเกี่ยวกับการผ่าคลอด

  • วัยทารก พัฒนาการทารก ทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี มีพัฒนาการอะไรบ้าง

    วัยทารก พัฒนาการทารก ทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี มีพัฒนาการอะไรบ้าง

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

  • ผ่าคลอดเบื้องต้น เรียนรู้ทุกอย่างที่คุณควรจะทราบเกี่ยวกับการผ่าคลอด

    ผ่าคลอดเบื้องต้น เรียนรู้ทุกอย่างที่คุณควรจะทราบเกี่ยวกับการผ่าคลอด

  • วัยทารก พัฒนาการทารก ทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี มีพัฒนาการอะไรบ้าง

    วัยทารก พัฒนาการทารก ทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี มีพัฒนาการอะไรบ้าง

  • 400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

    400 ชื่อเล่นไทยๆ แต่เก๋ ใช้ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ชื่อเล่นไทยๆ ในปี 2023

  • ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

    ลูกไม่ยอมพูด เป็นเพราะอะไร จะเป็นเด็กพัฒนาการช้าไหม ทำอย่างไรให้ลูกพูด

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์ไปให้กับคุณ