X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

8 อันดับของเล่นอันตราย พ่อแม่อย่าให้ลูกน้อยเล่น

บทความ 3 นาที
8 อันดับของเล่นอันตราย พ่อแม่อย่าให้ลูกน้อยเล่น

เด็กๆ กับของเล่นเป็นของคู่กัน เด็กในแต่ละวัยควรจะได้เล่นของเล่นที่เหมาะสม หากพ่อแม่เลือกของเล่นผิด ย่อมอันตรายต่อลูกได้ ลองมาดู 8 อันดับ ของเล่นอันตราย ที่พ่อแม่ควรระมัดระวังกันดีกว่า

8 อันดับ ของเล่นอันตราย พ่อแม่อย่าให้ลูกน้อยเล่น

ของเล่นอันตราย ของเล่นที่ไม่ควรให้ลูกน้อยเล่น เพราะมันอาจทำให้ลูกน้อยเสียชีวิตได้ หากพ่อแม่คนไหนที่ต้องการเลือกซื้อของเล่นให้ลูกน้อย เรามีวิธีเลือกให้ เพื่อให้ลูกน้อยปราศจากอันตราย แต่ว่าของเล่นอันตราย 8 อันดับจะมีไรบ้างน้า

 

8. เฮลิคอปเตอร์ใบพัด

เฮลิคอปเตอร์ รวมถึงเครื่องเล่นอื่นๆ ที่มีใบพัด เป็นของเล่นที่เหมะสำหรับวัยรุ่นมากกว่า เนื่องจากเด็กเล็กยังเล่นไม่ถูกวิธี ทำให้อาจพลาดไปโดนใบพลัดบาดมือจนเลือดออกได้ แต่สำหรับน้องๆ คนไหนอ้อนให้พ่อแม่ซื้อจนคุณต้องใจอ่อน แนะนำให้ซื้อที่เป็นพลาสสิกจะดีกว่า และต้องเป็นพลาสติกอ่อนๆ ไม่มีคม เพื่อให้น้องๆ เล่นสนุกได้อย่างปลอดภัย

 

7. ของเล่นชุดคุณหมอ

ชุดเครื่องเล่นนี้ ถือว่าเป็นของเล่นติดอันดับต้นๆ ที่น้องๆ อยากได้ แต่ใครจะไปคิดว่ามันก็มีอันตรายมากเช่นเดียวกัน เพราะอุปกรณ์การแพทย์ที่เป็นของเล่นของเด็ก หากเล่นไม่ระวังอาจจะทำให้ชิ้นส่วนเล็กพวกนั้น หลุดเข้าไปติดขัดการหายใจ ในรูจมูก นอกจากนี้ ยังมีพวกหลอดฉีดยา กรรไกร ของมีคมต่างๆ และยาจริงๆ มาอีก ซึ่งอาจจะไม่เหมาะกับเด็กเล็กเท่าที่ควร หากจำเป็นต้องซื้อจริงๆ แนะนำว่าให้เลือกชุดที่ไม่มีกรรไกร หลอดฉีดยา หรือเครื่องมือที่มีชิ้นส่วนเล็กๆ ที่อาจเข้าไปอุดตันในลำคอได้

 

ของเล่นอันตราย

Advertisement

6. ห่วงยางสวมแขน

ห่วงยางสวมแขนสำหรับเด็กอาจไม่รับประกันความปลอดภัยได้ดีเท่าที่ควร เพราะมันสามารถทำให้ลูกน้อยพลิกคว่ำ หรือหลุดออกจากห่วงได้ง่ายๆ ไม่เพียงแค่นั้นในบางผลิตภัณฑ์ ยังมีสารจำพวกไอโซโพรอโรนฟีนอลและเฮกเซนโทนที่มีฤทธิ์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวลูกน้อยในระยะยาวได้ ทั้งยังเป็นสารก่อมะเร็งอีต่างหาก ถ้าพ่อแม่อยากให้ลูกๆ สวมห่วงยางอย่างปลอดภัย แนะนำให้เลือกขนาดให้เหมาะสมกับรอบแขนของเด็ก และไม่ควรสวมนานเกินครึ่งชั่วโมงในแต่ล่ะครั้ง

 

5. แบตเตอรี่ทรงกลม

บ้านไหนมีลูกเล็ก ของชิ้นเล็กต้องเก็บและจัดการให้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งชิ้นส่วนที่มีความใกล้เคียงกับขนมหรือลูกอม ซึ่งบางครั้งของเหล่านั้นอาจจะหลุดมาจากของเล่น อย่างเช่น แบตเตอรี่ทรงกลม เมื่อเจ้าตัวน้อยเห็นก็อาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็นลูกอม หากได้อมและเผลอกลืนเข้าไปคงไม่ดีแน่ เพราะนอกจากจะมำให้ติดคอแล้วยังเสี่ยงต่อการได้รับสารพิษที่รุนแรงจากลิเธียมด้วย ดังนั้น ถ้าจะซื้อของเล่นให้ลูก ควรเลือกที่มีการปิดช่องใส่ทานอย่างแน่นหนา ยิ่งยึดด้วยน๊อตยิ่งดี

 

ของเล่นอันตราย

4. ปีนของเล่น

นี่ก็เป็นของเล่นโปรดของเด็กๆ เช่นกัน ปืนของเล่นมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งแบบที่มีเสียง มีแสง ปล่อยลูกดอก มีลูกปืน และปีดฉีดน้ำ ของเล่นพวกนี้ไม่ใช่แค่อันตรายอย่างเด็กเพียงอย่างเดียว ผู้ใหญ่ยังอันตรายเลย เช่น ปีดฉีดน้ำ ถ้าใส่ปืนที่มีแรงดันสูง จะทำให้ฝ่ายที่โดนเจ็บรุนแรง และยิ่งโดนตายิ่งแย่ เพราะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บหรือการติดเชื้อไปอีก ถ้าพ่อแใ่ให้ลูกน้อยได้เเล่นของพวกนี้ ต้องอย่าลืมซื้อแว่นให้น้องสวมใส่เพื่อความปลอดภัยด้วยนะคะ

 

3. แม่เหล็กของเล่น

ของเล่นพวกนี้ เหมาะสำหรับเด็กที่มีอายุ 14 ขึ้นไป เพราะเด็กเล็กมักจะเกิดความอยากรู้อยากเห็นตลอดเวลา พอเขาเห็นว่ามันมีสองชิ้นประกบกัน ก็จะพยายามแงะ หรือไม่เด็กในวัยที่ฟันกังลังจะขึ้นก็จะชอบกัด ไอ้ชิ้นส่วนแม่เหล็กเล็กๆ นั้นนั่นแหละที่จะเป็นปัญหา เพราะมันอาจจะทำให้ติดคอ หรือไม้ถ้ากลืนลงไปได้ก็จะลำบาก เนื่องจากมันไม่สารย่อยได้

 

ของเล่นอันตราย

 

2. ลูกโป่ง

ลูกโป่งกับเด็กๆ มักเป็นของคู่กัน ตอนมันพองก็สวยงาม แต่พอมันแตกกลับสร้างความกลัวให้หนูน้อยกันเกือบทุกคน และถ้ามันแตกใกล้ๆ เด็ก ก็อาจทำให้หูหยวกได้อีก ไม่เพียงแค่นั้นถ้ามีชิ้นส่วนเล็กๆ น้อยๆ หลุดเข้าไปในจังหวะที่เด็กหายใจจะอันตรายขนาดไหน แนะนำให้คุณแม่ที่มีลูกเล็กให้อยู่ห่างจากลูกโป่งดีกว่า เพราะมันเหมาะสำหรับเด็กที่มีอายุมากกว่า 8 ปี

 

 1. Fidget spinner

ของเล่นเพื่อการผ่อนคลาย มีกระแสอยู่พักหนึ่ง เพราะว่ากันว่ามันสามารถช่วยลดอาการเครียดได้น่ะ ที่เรายกให้มันเป็นอันดับหนึ่ง เพราะว่าเวลาที่ของเล่นนี่มันกำลังปั่นอยู่อาจสร้างความบาดเจ็บให้ลูกน้อยได้ ซึ่งมีการรายงานว่ามีเด็กเคยกลืนของเล่นชิ้นนี้ลงไปด้วย พ่อแม่ต้องคอยดูระมัดระวังอย่าให้กลืนมันเข้าไปล่ะ

 

ของเล่นอันตราย

 

สำหรับพ่อแม่คนไหนไม่แน่ใจว่าจะซื้อของเล่นแบบไหนให้ลูกดี แนะนำให้เลือกซื้อของเล่นที่มีขนาด ความยาวไม่ต่ำกว่า 6 ซม. ความกว้าง 3 ซม. ถ้าเป็นทรงกลมต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่ต่ำกว่า 5 ซม. ไม่มีคม หรือชิ้นส่วนเล็กๆ ไม่ควรมีช่องว่างให้เด็กเอานิ้วไปแหย่ได้

บทความจากพันธมิตร
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ดูแลทารกแรกเกิดวิกฤติน้ำหนักเพียง 500 กรัมสำเร็จ ด้วยความเชี่ยวชาญระดับสากล ที่ โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้
วิธีเลือกยาสีฟันเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ทุกคนควรเรียนรู้

 

ที่มา : brightside

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ:

ของเล่นเด็ก 2 เดือน พ่อแม่เล่นอะไรกับลูกได้บ้าง

แม่เตือน ระวังของเล่นแทงคอลูก

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Khunsiri

  • หน้าแรก
  • /
  • พัฒนาการลูก
  • /
  • 8 อันดับของเล่นอันตราย พ่อแม่อย่าให้ลูกน้อยเล่น
แชร์ :
  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

  • ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

    ห่อตัวลูกนอน จำเป็นไหม ลูกติดห่อตัว ไม่ห่อ ไม่ยอมนอน แก้ยังไง?

  • 100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

    100 ไอเดีย เมนูมื้อเช้าให้ลูกไปโรงเรียน อร่อยไม่ซ้ำ ทำง่าย ได้ประโยชน์

  • 5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

    5 เพลงคลาสสิก พัฒนาสมองลูก พร้อมเคล็ดลับให้เพลงพัฒนาสมองลูก

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว