X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

สาเหตุของการตายคลอด

บทความ 3 นาที
สาเหตุของการตายคลอด

การตายคลอด เป็นคำศัพท์ที่เอาไว้ใช้อธิบายการคลอดบุตรที่เด็กตายในท้อง หรือทารกในครรภ์เสียชีวิตระหว่างคลอด ระหว่างที่มีการโต้เถียงเกี่ยวกับคำอธิบายที่ชัดเจน และช่วงระยะเวลาที่คำนี้ครอบคลุมถึง โดยทั่วไปคำว่าการตายคลอด ใช้ได้ก็ต่อเมื่อมีอายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ หากน้อยกว่าจะเรียกว่าการแท้งบุตร

ตายคลอด, ทารก, ตาย, เสียชีวิต, ในครรภ์, ในท้อง, ไทย

สาเหตุของการตายคลอด

ทำไมการตายคลอดจึงเกิดขึ้น?

ยังไม่สามารถระบุเหตุผลที่แน่นอนได้ แต่สาเหตุที่ทำให้เกิดการตายคลอด ได้แก่

เลือดออกที่สายรกในครรภ์

ความผิดปกติของโครโมโซม หรือความผิดปกติทางเมตาบอลิซึม

ความผิดปกติทางโครงสร้างของทารก

จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ

ความผิดปกติเกี่ยวกับสายสะดือ

ทารกเกิดภาวะพร่องออกซิเจน

ผลข้างเคียงจากโรคประจำตัวของมารดา

ติดเชื้อ

ผลข้างเคียงจากโรคเบาหวานของแม่

ผลข้างเคียงจากมารดาที่รับสารนิโคติน แอลกอฮอลล์ และยาเสพติด

บทความใกล้เคียง: ท้องหลังอายุ 35 จะดีมั้ย

Advertisement

การคลอดบุตรที่ตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์

โดยปกติแล้วการที่ทารกตายในครรภ์ไม่ได้มีผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาในทันที ผู้เป็นมารดาจะกลับสู่ภาวะปกติได้ภายในสองสัปดาห์ อย่างไรก็ตามคุณแม่ส่วนใหญ่เลือกที่ลดเวลาพักฟื้นหลังคลอด โดยมีตัวช่วยอย่างห่วงที่ใส่ในช่องคลอด ที่จะช่วยให้ผิวหนังที่ปากช่องคลอดนุ่มขึ้น ลดเวลาการพักฟื้นได้ ในบางครั้ง การให้ยาทางเส้นเลือดดำก็ช่วยเร่งให้มีการหดรัดตัวของมดลูก ในขณะที่ยาแก้ปวด (มักให้โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ) สามารถช่วยลดความเจ็บปวดหลังคลอดได้

หลังจากที่คลอดทารกที่เสียชีวิตในครรภ์ออกมาแล้ว บางส่วนของรกอาจจะยังอยู่ในมดลูก คนไข้จึงอาจจะต้องทำการขูดมดลูก ทำการผ่าตัดโดยใช้ยาชาเฉพาะที่ เพื่อนำส่วนของรกออกจากมดลูก

หลังจากที่การคลอดบุตรเสร็จสิ้นลงแล้ว พ่อแม่จะมีทางเลือกให้หมอชันสูตรทารก ซึ่งจะสามารถตรวจหาข้อมูลจากอวัยวะภายในของทารกว่ามีสิ่งใดผิดปกติหรือไม่ เพื่อจะเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยถึงสาเหตุของการตายคลอดได้ หากแต่การชันสูตรทารกไม่สามารถกระทำโดยพลการได้ แพทย์ต้องปรึกษาและได้รับอนุญาตจากฝ่ายคนไข้เท่านั้น

หลังจากผ่านไปวันสองวัน มารดาจะสามารถออกจากโรงพยาบาลได้ มารดาส่วนมากจะกลับมาที่โรงพยาบาลเพื่อทำการตรวจร่างกายอีกครั้งและเพื่อรับผลการชันสูตรทารกหลังผ่านไป 6 สัปดาห์ และหากคนไข้มีอาการหลังคลอดก่อนกำหนดตรวจร่างกาย อาจจะต้องให้รีบมารับการรักษาเพิ่มเติมเพื่อหยุดการผลิตน้ำนม

การที่ต้องผ่านประสบการณ์การตายคลอดเป็นเหตุการณ์ที่เศร้าและอาจสร้างบาดแผลทางจิตใจแก่ผู้เป็นมารดาและครอบครัวได้ ความเครียดและอารมณ์โศกเศร้าอาจนำไปสู่ความไม่เชื่อ ปฏิเสธ และความสับสน และอาจจะเลยไปถึงอารมณ์โกรธ และความขมขื่น ซึ่งเป็นระยะของอาการเศร้าซึมตามธรรมชาติ

ให้กำลังใจมารดาที่ต้องประสบกับการตายคลอด

เพื่อที่จะช่วยให้ผู้เป็นมารดาผ่านพ้นความโศกเศร้าจากการเสียบุตร กฎเหล็กที่ต้องทำก็คือ อย่าคอยบอกความคิดเห็นส่วนตัวของคุณเกี่ยวกับชีวิตของเธอ การสูญเสีย รวมไปถึงทัศนคติที่เธอควรมีต่อเด็ก

ก่อนที่จะคุยกันเรื่องเด็กกับครอบครัวของผู้สูญเสีย จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องถามว่าพวกเขาพร้อมจะคุยเรื่องนี้หรือยัง หากยังก็รอจนกว่าเขาจะพร้อม และบอกเขาว่าคุณจะรอฟังจากเขาเมื่อพร้อมจริง ๆ พูดให้กำลังใจ และทำให้เขาเห็นถึงคุณค่าในตัวเอง เลี่ยงประโยคประเภท “มันก็เป็นแบบนี้แหละ” “เธอยังอายุน้อย มีลูกใหม่ก็ได้” หรือ “ลูกของเธอไปสบายแล้วล่ะ” ไม่มีผู้หญิงคนไหนอยากได้ความคิดเห็นจากคนรู้จักว่าทำไมเรื่องถึงเกิดขึ้น หรือทำอย่างไรถึงผ่านพ้นเรื่องนี้ไปได้ ขอแค่คุณจริงใจต่อความรู้สึกของคุณก็พอ

บทความแนะนำ: วิธีปลอบใจคนแท้ง

บทความแนะนำ: ทำเด็กหลอดแก้วก็มีโอกาสแท้งเช่นกัน

บทความจากพันธมิตร
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ตรวจ NIPT ราคา ปี 2568 รู้ทันความผิดปกติของลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • สาเหตุของการตายคลอด
แชร์ :
  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

  • 7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

    7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

  • วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

    วิจัยชี้! คนท้องทำงานกะดึก เพิ่มความเสี่ยงแท้งลูก-คลอดก่อนกำหนด

  • คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

    คนท้อง น้ำคร่ำน้อย ทำไงดี? 4 วิธีเพิ่มน้ำคร่ำ ที่คุณแม่ทำได้

  • 7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

    7 เคล็ดลับ ลดน้ำตาลในเลือด คนท้อง ให้คุณแม่ตรวจเบาหวานผ่านฉลุย!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว