X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

อุทาหรณ์ เห็บหมาเข้าหู มีเด็กเล็กต้องระวัง!

บทความ 3 นาที
อุทาหรณ์ เห็บหมาเข้าหู มีเด็กเล็กต้องระวัง!

พึงระวังให้ดีหากบ้านไหนมีเด็กเล็กกับสัตว์เลี้ยงอยู่บ้านเดียวกัน เพราะถึงแม้สัตว์เลี้ยงเช่น หมา แมว นก กระต่าย หรือสัตว์เลี้ยงชนิดอื่นจะมีประโยชน์และสร้างความสุขและเพลิดเพลินให้ขนาดไหน แต่อย่าลืมว่าอันตรายจากการเลี้ยงสัตว์ในบ้านสามารถเกิดขึ้นกับเด็กได้โดยเฉพาะเด็กเล็ก ที่มีข่าวเห็บเข้าหูมาให้เป็นอุทาทรณ์และต้องระวัง!

ระวังลูกจากสัตว์เลี้ยง

จากกรณีข่าวที่เด็กชายวัย 6 ขวบเล่นกับหมาที่เลี้ยงไว้ ถูกเห็บเข้าหูไปกินเลือดจนตัวบวมเป่ง หลังจากผู้ปกครองพยายามใช้แหนบดึงเห็บหลายตัวที่เข้าไปกินเลือดภายในหูของหนูน้อยก่อนพาส่งโรงพยาบาล จากการสอบถามคุณตาของหนูน้อยได้กล่าวว่า ตนเลี้ยงหมาอยู่ในบริเวณบ้าน และเด็กชายก็จะเล่นกับหมาทั้งสองตัวอยู่เป็นประจำ ตอนกลางคืนก็นำไปนอนภายในห้องนอน ซึ่งก่อนนอนตนก็จะเช็กที่นอนอยู่ตลอด ประกอบกับความเป็นเด็กของหลานชายที่อาจจะไม่รู้จักเห็บ หรือพิษภัยที่เกิดขึ้น รวมถึงความไม่ระวังและการสังเกตไม่เห็นด้วย ข่าวนี้จึงน่าจะเป็นอุทาหรณ์ที่ต้องระวังอย่างดีสำหรับพ่อแม่ที่เลี้ยงลูกร่วมกับสัตว์เลี้ยงแสนรักภายในบ้าน (ที่มา : หนังสือพิมพ์ข่าวสด)

Advertisement

วิธีระวังลูกให้ปลอดภัยจากสัตว์เลี้ยงแสนรัก

  • ไม่ควรปล่อยให้ลูกเล็กเล่นกับสัตว์เลี้ยงโดยลำพัง
  • ควรแบ่งพื้นที่ออกเป็นสัดส่วน แยกพื้นที่ระหว่างสัตว์เลี้ยงกับลูกน้อยอย่างชัดเจน และไม่ควรนอนรวมในห้องเดียวกัน
  • สอนลูกให้รู้จักวิธีการเล่นกับสัตว์เลี้ยง วิธีการสังเกตและการระวังสิ่งแปลกปลอมที่มาจากสัตว์เลี้ยง
  • หมั่นพาลูกน้อยล้างมือทุกครั้งหากมีการเล่นกับสัตว์เลี้ยง
  • ทำความสะอาดบ้านอยู่เป็นประจำโดยใช้น้ำยาที่มีส่วนผสมของน้ำยาฆ่าเชื้อหรือป้องกันเห็บหมัด
  • ทำความสะอาดสัตว์เลี้ยงอย่างสม่ำเสมอ และอาบน้ำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง และพาไปฉีดวัคซีน ตรวจสุขภาพเพื่อป้องกันโรคต่างๆ

การเลี้ยงสัตว์ร่วมกับการเลี้ยงเด็กภายในบ้าน มีส่วนช่วยเสริมพัฒนาการให้กับเด็กๆ เป็นอย่างมากทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ และความรู้สึก เป็นการปลูกฝังให้เด็กมีจิตใจอ่อนโยน แต่ทั้งนี้พิษภัยจากสัตว์เลี้ยงก็ส่งผลด้วยเช่นกัน ดังนั้นพ่อแม่จึงควรระมัดระวังทั้งลูกน้อยและสัตว์เลี้ยงในการอยู่ร่วมกันอย่างดีที่สุด

บทความจากพันธมิตร
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
การมีสติ ฉบับเด็ก ๆ เป็นอย่างไร ฝึกลูกให้มีสติ ท่ามกลางโลกที่วุ่นวาย
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กยุคใหม่ด้วย ทักษะ Executive Function
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
ปี 2567 เด็กป่วยด้วยโรคอะไร? LUMA แบ่งปันสถิติให้เข้าใจมากขึ้น
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023
Value Health (Kids) ประกันสุขภาพสำหรับลูกน้อย เจ้าของรางวัล Most Promising จากเวที TAP Awards 2023

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

Napatsakorn .R

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • อุทาหรณ์ เห็บหมาเข้าหู มีเด็กเล็กต้องระวัง!
แชร์ :
  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

  • ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก”  สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

    ต้องแยกแยะ “สุภาพ” กับ “โกหก” สอนลูกพูดความจริง เมื่อการสร้างภาพและรักษาน้ำใจไม่ใช่ทางออก

  • ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

    ครอบครัวแบบไหนไม่ทำร้ายเด็ก สร้างพื้นที่ปลอดภัย เป็นความสบายใจให้ลูก

  • เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

    เคล็ดลับสร้างวินัยเชิงบวกให้ลูก เลี้ยงลูกแบบ ใจดีแต่ไม่ใจอ่อน (Kind but Firm)

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว