X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แพทย์ที่ทำ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด ได้รับอนุญาตให้กลับไปทำงานแล้ว

10 Jun, 2018
แพทย์ที่ทำ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด ได้รับอนุญาตให้กลับไปทำงานแล้ว

จากกรณีที่มีแพทย์คนหนึ่งทำ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด ซึ่งได้กลายเป็นกระแสไปทั่วโลกโซเชียลนั้น ขณะนี้แพทย์หญิงรายนั้นได้รับอนุญาตให้กลับมาทำงานเช่นเดิมแล้ว

แพทย์ที่ทำ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด ได้รับอนุญาตให้กลับไปทำงานแล้ว

รายงานได้กล่าวว่า เหตุสลดนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก เด็กทารกคนดังกล่าวนั้นอยู่ในท่าที่ไม่กลับหัว ทำให้เด็กจะเอาเท้าออกมาก่อนหากคลอดแบบธรรมชาติ ซึ่งตามปกติแล้วเด็กที่ไม่กลัวหัวนั้นควรใช้วิธีผ่าคลอดแทน เนื่องจากมีอันตรายน้อยกว่า  แต่อย่างไรก็ดี แพทย์หญิง แล็กซ์แมน (Dr. Vilvanathan Laxman) ก็ได้ตัดสินใจที่จะให้คลอดธรรมชาติแทน ซึ่งส่งผลให้ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด โดยรายงานกล่าวว่า แพทย์หญิง แล็กซ์แมน ได้แนะนำให้มารดาเบ่งในขณะที่เธอช่วยดึงขาของเด็กออกมา และด้วยเหตุที่เด็กทารกคนนี้คลอดก่อนกำหนด ทำให้ยังอ่อนแอและบอบบางมาก แรงดึงจึงทำให้ส่วนศีรษะของเด็กและลำตัวขาดออกจากกัน

จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนี้ทางโรงพยาบาลจึงมีการตัดสินให้เธอออกจากงาน และเรื่องนี้ก็ได้กลายเป็นคดีความขึ้นศาลเมื่อเดือนก่อน

แต่เมื่อไม่นานมานี้ Medical Practitioners Tribunal Service ได้ยกเลิกความผิดร้ายแรงของเธอครั้งนี้  และอนุญาตให้เธอกลับมาาทำงานอีกครั้ง

ทำไม แพทย์หญิง แล็กซ์แมน ถึงได้โอกาสให้กลับมาทำงานอีกครั้ง?

เด็กหัวขาดขณะทำคลอด

ขณะที่ทำการไต่สวนนั้น แพทย์หญิง แล็กซ์แมน ได้ให้การต่อศาลว่า ที่เธอไม่ได้ทำการผ่าคลอดให้นั้น เพราะเธอเชื่อว่าวิธีนั้นจะเป็นอันตรายต่อเด็กมากกว่า

แม้ว่าศาลจะไม่เห็นด้วยกับการกระทำของเธอ และเชื่อว่าเหตุการณ์นี้เกิดจากความประมาท แต่ก็ไม่ได้ถือว่านี่เป็นความผิดร้ายแรง

ศาลกล่าวว่า “ตลอดระยะเวลาทำคลอดให้เด็กนั้น แพทย์หญิง แล็กซ์แมน เชื่อว่าเธอได้ทำสิ่งที่ดีสุดสุดต่อคนไข้ทั้งสองแล้ว และเธอมั่นใจว่า การทำคลอดด้วยวิธีธรรมชาติ เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการรับมือกับสถานการณ์นั้นเล้ว”

และยังได้บอกเพิ่มเติมอีกว่า แพทย์หญิง แล็กซ์แมน ได้สำนึกผิดกับสิ่งที่เกิดขึ้นและยินดีที่จะรับผิดชอบอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ แพทย์หญิง แล็กซ์แมน ยังไม่เคยมีประวัติในการทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยมาก่อน จึงอนุญาติให้เธอกลับไปทำงานต่อ

Advertisement

 

แล้วพ่อแม่จะทำอย่างไรได้บ้างเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้อีก

ข่าวทารกหัวขาดขณะนี้ทำให้บรรดาพ่อแม่ที่ลูกน้อยกำลังจะลืมตาดูโลกเกิดความกังวลเป็นอย่างมาก ว่าลูกอาจเป็นอันตรายได้ และนี่ก็คือวิธีที่จะช่วยให้คุณพ่อคุณแม่มั่นใจได้ว่าลูกของเราจะไม่ตกอยู่ในสภาวะอันตรายเช่นนี้แน่นอนค่ะ

  • ไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ คุณแม่ที่ตั้งครรภ์ควรไปพบหมอทุกสองอาทิตย์เป็นอย่างน้อย เพื่อจะได้ติดตาามการเจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกในท้อง
  • ในกรณีที่เด็กไม่กลับหัว พ่อแม่ควรจะปรึกษาคุณหมอ สำหรับทางเลือกในการทำคลอด ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ที่ไม่กลับหัวมักต้องทำคลอดด้วยวิธีการผ่า แต่ในบางครั้งก็คลอดด้วยวิธีธรรมชาติได้แต่ต้องทำการปรึกษากับแพทย์ก่อนเพื่อชั่งน้ำหนักทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดนะคะ
  • หาแพทย์ที่น่าเชื่อถือเพื่อที่คุณจะได้มั่นใจว่าคุณและลูกจะปลอดภัย
  • วางแผนล่วงหน้า การที่คุณตัดสินใจไว้ก่อนว่าอยากทำคลอดด้วยวิธีใดเป็นเรื่องที่ดี เพื่อที่คุณจะได้แจ้งแพทย์และปรึกษากันไว้ล่วงหน้า ไม่ใช่มาตัดสินใจในวินาทีสุดท้าย
  • อย่าเครียดเกินไป! การที่ลูกเกิดมานั้นเป็นช่วงเวลาที่มหัศจรรย์และสวยงามที่สุด และไม่ควรมีอะไรที่จะก่อให้เกิดความกังวล พยายามทำให้ตัวเองผ่อนคลายและเฝ้ารอลูกน้อยน่ารักที่่จะเกิดมาดีกว่าค่ะ

Credit : BBC

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

บทความจากพันธมิตร
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ

5 ท่าเบ่งคลอด ลดอาการเจ็บท้องคลอด ช่วยแม่ท้องคลอดง่ายขึ้น

บล็อกหลังคลอดลูก ปลอดภัยแค่ไหน มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง

คลอดลูกแล้วท้องไม่ยุบ มีวิธีทำให้ท้องยุบหลังคลอดได้อย่างไร

น้ำคร่ำแตก เป็นอย่างไร มีอาการแบบไหน ใกล้คลอดหรือยังแบบนี้

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

kamonchanok

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • แพทย์ที่ทำ เด็กหัวขาดขณะทำคลอด ได้รับอนุญาตให้กลับไปทำงานแล้ว
แชร์ :
  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว