X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้

15 Sep, 2017
รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้

อดใจไม่ไหว อยากให้ประกาศใช้เร็ว ๆ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน

รอข่าวดี! สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน

พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) ครั้งที่ 5/2560 ณ ทำเนียบรัฐบาล ได้กล่าวถึงสิทธิลาคลอด หลังมีการหารือกับภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในประเด็นการขยายสิทธิการลาคลอดเป็น 180 วัน หรือ 6 เดือน ว่า การลาคลอดนั้น เราส่งเสริมคุณแม่ควรจะให้นมลูกอย่างน้อยเป็นเวลา 6 เดือน แล้วหลังจากนั้นอาจจะมีอาหารเข้ามาเสริมได้บ้าง แต่ที่ผ่านมา เรามีกฎหมายอนุญาตให้ทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อนุญาตให้คุณแม่ลาคลอดได้จำนวน 90 วัน ดังนั้น รัฐควรออกกฎหมาย โดยอาจอนุญาตให้ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน ซึ่งคุณแม่สามารถลาคลอดได้ 180 วัน หรือ 6 เดือน ซึ่งขณะนี้ยังอยู่ระหว่างดำเนินการ โดยจะมีการรับฟังความคิดเห็นในช่วงเดือน ตุลาคมนี้ คาดว่าจะออกประกาศได้ภายในเดือน มี.ค. 2561

สิทธิลาคลอด และการรักษาสมดุลระหว่างงานและลูก

เป็นที่ถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องนะคะ กับการใช้สิทธิลาคลอด ทั้งประเทศในแถบอเมริกาและยุโรปเอง เนื่องจากมีหลายงานวิจัยที่บอกว่าการที่พ่อหรือแม่หรือทั้งคู่ มีเวลาเลี้ยงลูกเต็มเวลานานเท่าใด เด็กๆ จะยิ่งประสบความเร็จเร็วเท่านั้น แต่ในทางปฏิบัติมันไม่ได้สวยหรูแบบนั้นเสมอไปค่ะ เนื่องจากสวัสดิการลาคลอดนั้นมีนายจ้างเพียงไม่กี่ราย ที่ตกลงยอมทำตามกฎกติกาที่สามารถให้ลูกจ้างลาคลอดได้เต็มที่ คุณแม่ส่วนใหญ่ยังต้องกลับมาทำงานเร็วกว่าเดิมแทบทั้งนั้นค่ะ

สวัสดิการอุดมคติมีแค่ในทฤษฎี

เนื่องจากกรณีที่นายจ้างไม่ได้ให้ความเป็นธรรมแก่บรรดาคุณแม่ที่เป็นลูกจ้าง ที่ประเทศอเมริกาจึงมีการฟ้องร้องกันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้บรรดาบริษัทหรือนายจ้างต่างๆ มองว่าเป็นสวัสดิการที่แพงเกินไป จึงทำให้บริษัทและนายจ้างเหล่านี้เลือกที่จะจ้างผู้หญิงซึ่งไม่อยู่ในช่วงอายุที่จะมีลูกอ่อนแทน ซึ่งเป็นที่น่าเสียดายแรงงานดีๆ ที่ถูกตัดทิ้งไป เนื่องจากมีงานวิจัยจากมหาวิทยาลัย Rutgers เปิดเผยข้อมูลว่า หลังจากที่ผู้หญิงลาคลอดไปก็สามารถกลับมาทำงานได้ปกติ และเป็นค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่าการที่บริษัทจะจ้างคนใหม่ และเสียเวลาไปกับการสอนงานใหม่อีก

สร้างสมดุลระหว่างงานและลูก

เมื่อคุณพ่อคุณแม่ยุคนี้ก้าวเข้าสู่ยุคดิจิตอลเต็มตัว จึงมีทางเลือกที่หลากหลายมากขึ้น ในการบริหารจัดการการทำงานและครอบครัว เพื่อสร้างสมดุลระหว่างเรื่องงานและลูกนั่นเองค่ะ

  1. เพิ่มความยืดหยุ่น
Advertisement

ผลวิจัยที่เก็บข้อมูลในปี 2008-2014 เผยว่าลูกจ้างจะทำงานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อมีอิสระและการยืดหยุ่นในเรื่องของเวลาและสถานที่ทำงาน จาก 50% เป็น 67% ควบคุมผลงานได้ดีขึ้นจาก 84% เป็น 92% ไม่ต้องทำงานล่วงเวลาจาก 27% เป็น 45% และไม่ต้องลาหยุดจาก 73% เป็น 82%

  1. องค์กรเล็กๆ

มีความยืดหยุ่นมากกว่าองค์ใหญ่ๆ ในเรื่องของการเข้างานและลางานเมื่อเทียบกับองค์กรใหญ่ 33% ต่อ 20% การทำงานโดยไม่ต้องเข้าออฟฟิศหรือทำงานที่ไหนก็ได้ 11% ต่อ 4% การลาไปทำธุระโดยที่ไม่หักเงินเดือน 52% ต่อ 36% ซึ่งจำนวนคนเก่งๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเลือกทำงานกับองค์กรเล็กๆ มากกว่าองค์กรใหญ่ๆ ด้วยข้อดีเหล่านี้

 
  1. เหตุจำเป็นที่ถูกมองข้าม

ไม่มีใครอยากให้คนในครอบครัวป่วย แต่มันไม่สิ่งที่สามารถเลือกได้ ลูกจ้างจำนวนไม่น้อยที่มีเหตุจำเป็นเหล่านี้ ซึ่งต้องยอมลางานโดยที่โดนหักเงินเดือนเป็นจำนวนถึง 58% ด้วยกัน โดยที่จำนวนเพียง 9% เท่านั้นที่มีการจ่ายเงินเดือนให้ในช่วงที่ลาเพราะมีเหตุจำเป็น จึงทำให้มีลูกจ้างจำนวนไม่น้อยที่เลือกจะหางานใหม่ที่มีความยืดหยุ่นมากว่า

ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยนะคะ กับการเลี้ยงลูกและทำงานไปพร้อมๆ กัน ในเมื่อสังคมเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมที่เต็มรูปแบบ แต่ก็ใช่ว่าจะหมดหวังไปเสียทีเดียวค่ะ คุณแม่ที่มีลูกเล็กยังมีทางเลือกในการหานายจ้างที่มีสถานรับเลี้ยงเด็กในที่ทำงาน บางองค์กรมีห้องให้ปั๊มนม มีตู้แช่ให้ หรือบางองค์กรส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมากมายในตอนนี้ ต่างก็บริหารงานภายใต้คนยุคใหม่ ที่มีลักษณะการทำงานแบบเดียวกันกับเรา ความยืดหยุ่นในการทำงานจึงไม่ใช่เรื่องที่เป็นอุดมคติเท่านั้นแล้วละค่ะ

 

ที่มา : https://www.khaosod.co.th

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

สวัสดิการลาคลอดสุดเริ่ดของประเทศต่าง ๆ

แจ้งสิทธิ์! คุณพ่อข้าราชการลาคลอดช่วยแม่เลี้ยงลูกได้ 15 วัน

สิทธิลาคลอดและการรักษาสมดุลระหว่างงานและลูก

 

บทความจากพันธมิตร
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
ก้าวไปอีกขั้น! PalFish Thailand จัดงานอลัง “ฉลองรับการขยายออฟฟิศใหม่”
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
แพ็ลฟิชฯ จัดอลัง!! ประชันแข่งขันสุนทรพจน์ภาษาอังกฤษ “PalFish English Speech Contest” - ดัน “UN” ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 17)
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
สร้างความแข็งแกร่งของฮีโร่ตัวน้อย ด้วย LPR โพรไบโอติก ตัวดัง
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ
วันเด็กแห่งชาติ ปี 2565 กระทรวง อว. ชวนเจ้าตัวเล็ก ร่วมกิจกรรม Online “ถนนสายวิทยาศาสตร์” ลุ้นเปิด “กล่องสุ่มของเล่น” กระจายความสนุกพร้อมกันทั่วประเทศ

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ข่าว
  • /
  • รอข่าวดี! เตรียมเสนอ สิทธิแม่ลาคลอด 6 เดือน หรือ 180 วัน คาดปีหน้าได้ใช้
แชร์ :
  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

  • เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

    เคาะ! ร่าง พ.ร.บ.ความรุนแรงในครอบครัว ฉบับแก้ไข เพิ่มโทษปรับ 10 เท่า!

  • นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

    นิด้าโพล เผย คนไทยไม่อยากมีลูก กังวลค่าใช้จ่าย ห่วงสภาพสังคม

  • เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

    เงินสงเคราะห์บุตร 2568 เดือนละ 1,000 บาท เข้าเมื่อไหร่ สมัครยังไง?

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว