X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

วิธีช่วยให้ลูกไม่งอแงเวลาไปโรงเรียนอนุบาล

1 Jul, 2014

อาการกลัวเพราะต้องแยกจากพ่อแม่นั้นไม่ใช่เรื่องเล่น ๆ เลยค่ะ เพราะอาการกลัวนี้เกิดขึ้นทั้งกับเด็กและพ่อแม่ด้วย แต่เราก็พอมีทางออกสำหรับการช่วยไม่ให้ลูกงอแงเวลาต้องไปโรงเรียนอนุบาลฝากกันค่ะ

พาลูกไปเล่นกับเด็กคนอื่น ๆ

พาลูกไปเล่นกับเด็กคนอื่น ๆ

พาลูกไปเล่นกับเด็กคนอื่น ๆ ในกิจกรรมเล่นกับเพื่อน (Play Group) พ่อแม่หลายคนลองใช้วิธีนี้เพื่อหัดให้ลูกเข้าสังคมกับเด็กคนอื่น ๆ ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างจากที่ลูกคุ้นเคย ในช่วงแรก ๆ ลูกอาจจะยังคงอยู่ใกล้ ๆ คุณ และยังไม่กล้าไปเล่นกับเด็กคนอื่น แต่หากคุณอดทนและพยายามแนะให้ลูกลองเล่นกับเด็กคนอื่นดู ลูกก็จะค่อย ๆ ชินกับการเล่นกับเพื่อนใหม่
ลองหากิจกรรมสั้น ๆ ให้ลูกทำโดยที่คุณไม่มีส่วนร่วม

ลองหากิจกรรมสั้น ๆ ให้ลูกทำโดยที่คุณไม่มีส่วนร่วม

การลองหากิจกรรมสั้น ๆ ให้ลูกทำโดยที่คุณไม่มีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้น แต่คุณสามารถดูแลลูกอยู่ห่าง ๆ จากนั้นค่อย ๆ ถอยออกมาให้ไกลจากลูกจนกว่าลูกจะรู้สึกมั่นใจและมีสมาธิอยู่กับกิจกรรม ไม่ใช่จดจ่ออยู่กับคุณ คุณมีหน้าที่เพียงแค่ให้กำลังใจลูกและทำให้ลูกมั่นใจในตัวเองโดยพยายามไม่ให้ลูกเห็นคุณ เมื่อลูกเริ่มคุ้นกับการเล่นกับเด็กคนอื่นแล้ว ลองหากิจกรรมที่มีบรรยากาศคล้ายกับห้องเรียนให้ลูกทำดู เช่น เรียนศิลปะ เรียนดนตรี หรือลองเล่าให้ลูกฟังว่าบรรยากาศในห้องเรียนเป็นอย่างไร
หมั่นชมและให้รางวัลลูก

หมั่นชมและให้รางวัลลูก

หมั่นชมและให้รางวัลลูกเพื่อเป็นแรงผลักดันให้ลูกไม่งอแงเวลาที่ต้องแยกจากคุณ ยิ่งถ้าคุณให้รางวัลเป็นของที่ถูกใจลูกแล้ว ก็จะยิ่งทำให้ลูกหยุดงอแงเวลาที่ต้องแยกจากคุณได้เร็วขึ้น
คุยกับครูใหญ่ของโรงเรียน

คุยกับครูใหญ่ของโรงเรียน

คุยกับครูใหญ่ของโรงเรียนก็เป็นเรื่องที่หลายคนแนะนำ เพราะครูใหญ่มีสารพัดเทคนิคการรับมือกับเด็กงอแงที่โรงเรียนเสมอ นอกจากนี้ครูใหญ่ยังมีวิธีโน้มน้าวใจให้ลูกอยากมาโรงเรียนอีกด้วย
ใช้เวลาพูดคุยกับลูก

ใช้เวลาพูดคุยกับลูก

ถ้าลูกมีปัญหางอแงเวลาที่ต้องแยกจากคุณอยู่แล้ว ทีนี้คุณก็ต้องใช้เวลาสักหน่อยเพื่อพูดคุยกับลูก ก่อนที่ลูกจะต้องเริ่มเข้าเรียนชั้นอนุบาล ใช้น้ำเสียงที่ฟังแล้วรู้สึกตื่นเต้นจะได้ทำให้ลูกอยากไปโรงเรียน ลองขับรถผ่านหน้าโรงเรียนดูเสมือนว่าคุณจะพาลูกไปสมัครเรียน ลูกจะได้เห็นเด็กคนอื่น ๆ วิ่งเล่นกันสนุกสนานที่โรงเรียน
ทำให้ลูกมั่นใจว่าคุณจะไปรับเขาหลังเลิกเรียน

ทำให้ลูกมั่นใจว่าคุณจะไปรับเขาหลังเลิกเรียน

อีกสาเหตุหนึ่งที่ลูกร้องไห้งอแงเวลาต้องแยกจากคุณนั้นก็เนื่องเขากลัวว่าคุณจะทิ้งเขาอีกเหมือนที่ผ่านมา แม้ว่าคุณจะไม่ตั้งใจก็ตาม คุณอาจจะคิดว่าแป๊บเดียวเองไม่เป็นไรหรอก แต่สำหรับลูกแล้วนับว่าเป็นเรื่องใหญ่ทีเดียว ดังนั้นคุณต้องทำให้ลูกมั่นใจว่ายังไงคุณก็จะไปรับเขาหลังเลิกเรียนอย่างแน่นอน
ถัดไป
img

บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • ชีวิตครอบครัว
  • /
  • วิธีช่วยให้ลูกไม่งอแงเวลาไปโรงเรียนอนุบาล
แชร์ :
  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

  • หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

    หากลูกหมกมุ่นกับ 3 สิ่งนี้... พฤติกรรมที่ผู้ปกครองควรจับตา และรับมืออย่างทันท่วงที

  • เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

    เทคนิคเลี้ยงลูกตามวัย สร้างสายใยไว้ใจ เลี้ยงลูกยังไง ให้กล้าคุยกับพ่อแม่

  • อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

    อย่ามองแค่เกรด! 5 ทักษะที่มีค่าที่สุด ช่วยลูกรับมือกับอุปสรรคในชีวิต

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว