X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

ความรู้จากแพทย์กับโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก

บทความ 3 นาที
ความรู้จากแพทย์กับโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก

โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดเกิดจากอะไร มีแนวทางการรักษาอย่างไร และจะรู้ได้อย่างไรว่าลูกน้อยของคุณเป็นโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดหรือเปล่า?...อ่านคำตอบจากแพทย์ได้ที่นี่ค่ะ

โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด

โอกาสและความเสี่ยงโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก

  • สถานการณ์โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในปัจจุบัน จะพบในทารก 7.7 คน จากทารก 1,000 คน
  • แต่มีแค่ร้อยละ 1 ที่ตรวจทราบหรือพบเลยตั้งแต่แรกคลอดว่าเป็นโรคนี้
  • โดยในแต่ละปีมีทารกต้องการการผ่าตัดมากถึง 5,000-6,000 ราย แต่สามารถผ่าตัดได้เพียง 3,500 คน

สาเหตุของโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก

  • สาเหตุของโรคยังไม่ทราบแน่ชัดแต่ความผิดปกติเกิดในขั้นตอนการสร้างอวัยวะตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดา ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อใน 3 เดือนแรกหรือเกิดจากกรรมพันธุ์
  • นอกจากนี้สาเหตุของโรคยังเกิดได้จากพฤติกรรมของมารดาขณะตั้งครรภ์ด้วย เช่น แม่สูบบุหรี่ ดื่มเหล้าตอนตั้งครรภ์
  • แม่มีอายุมากเกินกว่าวัยเจริญพันธุ์
  • หรือเด็กที่เกิดมาเป็นดาวน์ซินโดรม เด็กที่คลอดก่อนกำหนด หรือเกิดมาน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ก็อาจมีโอกาสเสี่ยงเป็นได้

อ่านข้อมูลต่อหน้าถัดไป >>>

Advertisement

โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก
ชนิดของโรคและอาการ

1. ชนิดเขียว หรือมีออกซิเจนในเลือดต่ำ

  • เกิดจากความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
  • ทำให้เลือดดำปนกับเลือดแดงที่ไปเลี้ยงร่างกาย จนเด็กเกิดภาวะขาดออกซิเจน

2. ชนิดไม่เขียว

  • เกิดจากความผิดปกติในโครงสร้างระบบหลอดเลือดและหัวใจ
  • โดยอาจเกิดจากผนังกั้นหัวใจมีรูลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ

จะทราบได้อย่างไรว่าลูกเป็นโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด?

  • สำหรับชนิดเขียว ผิวจะมีสีเขียวม่วงคล้ำ โดยจะเห็นได้ชัดขณะร้องหรือดูดนม
  • สำหรับชนิดไม่เขียว อาจพบได้จากการตรวจพบเสียงหัวใจเต้นผิดจังหวะโดยบังเอิญ และเด็กเล็กมักดูดนมได้ครั้งละน้อย  ๆ หายใจเร็ว น้ำหนักขึ้นช้า เป็นต้น


โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด

แนวทางในการรักษา

บทความจากพันธมิตร
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
ซีรีแล็ค จูเนียร์ โจ๊ก อร่อย ได้ประโยชน์ ตัวช่วยแม่ยุคใหม่
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
เคล็ดลับดูแลครรภ์ และ สร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกน้อย
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
MFGM จากนมแม่กุญแจสำคัญ สู่ IQ และทักษะสมองเพื่อความสำเร็จ EF ที่เหนือกว่าของเด็ก Gen ใหม่
4 อาการคนท้อง  ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
4 อาการคนท้อง ยอดฮิตของแม่ตั้งครรภ์ เลี่ยงยาก แต่ป้องกันได้
  • รักษาด้วยยา เพื่อประคับประคองอาการ
  • รักษาด้วยการสวนหัวใจในผู้ป่วยที่สามารถใส่อุปกรณ์สวนหัวใจได้
  • รักษาด้วยการผ่าตัด ในกรณีที่ใช้ยาแล้วไม่ได้ผล
  • สำหรับเด็กอายุแรกเกิดถึง 1 ปีในบางรายจำเป็นต้องจำกัดปริมาณนมและไม่สามารถรับนมแม่ได้ หรือควรเลี่ยงอาหารรสเค็ม
  • ส่วนเด็กที่มีอายุมากกว่า 1 ปี ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีพลังงานสูง และควรรับวัคซีนเสริมบางชนิด
  • นอกจากนี้ควรหมั่นดูแลสุขภาพช่องปากและฟันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจ

ข้อมูลจากบทสัมภาษณ์ของศาสตราจารย์ นายแพทย์ กฤตย์วิกรม ดุรงค์พิศิษฏ์กุล แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจและหลอดเลือดโรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ ณ งานเสวนาในหัวข้อ “โรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิด” โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
ddc-calendar
เตรียมความพร้อมสำหรับลูกน้อย โดยใส่วันครบกำหนดคลอดของคุณ
หรือ
คำนวณวันครบกำหนดคลอด
img
บทความโดย

theAsianparent Editorial Team

  • หน้าแรก
  • /
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • /
  • ความรู้จากแพทย์กับโรคหัวใจผิดปกติแต่กำเนิดในทารก
แชร์ :
  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

  • คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

    คนท้อง อัลตราซาวด์ 4 มิติ กี่เดือน ซาวด์ 4 มิติ ที่ไหนดี ราคาปี 2568

  • คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

    คนท้องหิวกลางดึก กินอะไรดี อาหารว่างยามดึกสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์

  • วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

    วิจัยเผย อยากให้ลูกกินง่าย ? เริ่มตั้งแต่อยู่ในท้องแม่!

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว