X
TAP top app download banner
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้า
เข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • โภชนาการ เเม่ท้อง เเม่ให้นม
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • ตั้งชื่อลูก
  • แม่ผ่าคลอด
    • พัฒนาการเด็กผ่าคลอด
    • เตรียมตัวผ่าคลอด
    • สุขภาพเด็กผ่าคลอด
    • คู่มือคุณแม่ผ่าคลอด
    • การดูแลหลังผ่าคลอด
    • โภชนาการเด็กผ่าคลอด
  • หลังคลอด
    • คลอดธรรมชาติ
    • ผ่าคลอด
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

การให้ลูกเรียนดนตรีให้ประโยชน์ต่อลูกอย่างไรบ้าง?

28 Mar, 2015

มีการค้นคว้าจากประเทศเยอรมันบอกว่า การให้ลูกเรียนดนตรีมีประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนรู้มากเป็นสองเท่าของการเล่นกีฬา เต้น หรือแสดงละครอีก เด็กที่เรียนดนตรีจะมีกระบวนการความคิดที่เด่นชัด เรียนได้เกรดดี มีความรอบคอบ ใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเปิดเผยมากกว่า

1. ช่วยให้ทักษะการอ่านและเขียนดีขึ้น

1. ช่วยให้ทักษะการอ่านและเขียนดีขึ้น

จากหลากหลายการค้นคว้าทำให้รู้ว่าความสามารถทางภาษาและเสียงมีบางอย่างเชื่อมต่อกัน นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Northwestern ได้บอกว่า 5 ทักษะที่ช่วยในการเรียนรู้ภาษา คือ ความสามารถที่จะรู้ว่าเสียงในภาษาพูดประกอบด้วยเสียงย่อย การรับรู้ความเร็วของเสียง การรับรู้จังหวะ การจำเสียงที่ได้ยิน และความสามารถในการเรียนรู้รูปแบบของเสียง

การเรียนดนตรีจะช่วยให้ทักษะทั้ง 5 นี้แข็งแกร่งขึ้นได้ หลังจากที่เด็กๆได้ถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งไปเรียนดนตรี อีกกลุ่มไปเรียนศิลปะ จะเห็นได้ว่าเด็กๆที่ได้เรียนดนตรีสามารถแสดงออกได้ดีกว่าเด็กที่เรียนศิลปะ
2. ช่วยให้การคิดวิเคราะห์ การคำนวณดีขึ้น

2. ช่วยให้การคิดวิเคราะห์ การคำนวณดีขึ้น

ดนตรีหยั่งรากในคณิตศาตร์ หลักคณิตศาสตร์ช่วยในการกำหนดความห่างของช่วงเสียง การเรียงตัวของคีย์ต่างๆ และ การกำหนดจังหวะ มันจึงไม่แปลกเลยที่จะเห็นเด็กที่ได้รับการฝึกฝนทางด้านดนตรีสูงๆ จะสามารถเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีไปด้วย
3. ช่วยให้เรียนดีขึ้น

3. ช่วยให้เรียนดีขึ้น

ในปี 2007 อาจารย์จากมหาวิทยาลัยดนตรี Kansas ได้ค้นพบว่า นักเรียนชั้นระดับประถมศึกษาที่ได้รับการอบรมทางดนตรี ได้ผลสอบภาษาอังกฤษ 22% และเลข 20% สูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับการอบรมทางดนตรี

ในปี 2013 ผลวิจัยจากทางแคนาดาก็ค้นพบเช่นเดียวกัน ในทุกๆปี คะแนนจะถูกการตรวจนับ ผลคะแนนเฉลี่ยจากนักเรียนที่เรียนดนตรีจะสูงกว่านักเรียนที่เรียนอย่างอื่น
4. เพิ่ม IQ

4. เพิ่ม IQ

เป็นที่น่าแปลกใจที่ว่า ถึงแม้ดนตรีจะอยู่ในฟอร์มของศิลปะทางอารมณ์ การเรียนดนตรีช่วยในการเพิ่มไอคิวทางด้านวิชาการมากกว่าไอคิวทางอารมณ์เสียอีก มีผลวิจัยค้นคว้าหลายๆอย่างที่สนับสนุนข้อความข้างต้นนี้
5. ช่วยให้เรียนภาษาต่างๆได้เร็วขึ้น

5. ช่วยให้เรียนภาษาต่างๆได้เร็วขึ้น

เด็กๆที่เริ่มเรียนดนตรีตั้งแต่เล็กๆสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาได้ดีกว่า พวกเขาสามารถเรียนรู้คำศัพท์ที่ยากๆ สามารถที่จะเข้าใจหลักไวยกรณ์ และ ออกเสียงได้ดีกว่า ทักษะการเรียนรู้ที่ดีพวกนี้ไม่ได้จำกัดเฉพาะกับภาษาแม่เท่านั้น แต่เป็นกับทุกภาษาที่จะเรียนในอนาคตอีกด้วย
6. ทำให้เป็นผู้ฟังที่ดีขึ้น ซึ่งช่วยมากเมื่อแก่ตัวลง

6. ทำให้เป็นผู้ฟังที่ดีขึ้น ซึ่งช่วยมากเมื่อแก่ตัวลง

ดนตรีช่วยให้ประสาทการรับรู้เสียงของผู้เล่นอ่อนไหวกว่าคนปกติ ซึ่งจะช่วยอย่างมากเมื่อพวกเขาแก่ตัวลง พวกนักดนตรีที่ยังคงเล่นดนตรีอยู่เสมอสามารถหลีกเลี่ยงข้อกังหาที่ทางนักวิทยาศาตร์ได้ตั้งชื่อไว้ว่า ‘ปัญหางานปาร์ตี้’ ซึ่งคนที่สูงวัยจะมีปัญหาในการแยกแยะเสียงที่อยากได้ยินจากเสียงวุ่นวายจากข้างหลัง
7. ช่วยให้แก่ตัวช้า

7. ช่วยให้แก่ตัวช้า

ดนตรีช่วยให้ทักษะของระบบการเรียนรู้ที่จะดิ่งลงตามอายุช้าลงกว่าคนอื่น รวมถึงเรื่องการแก่ตัวด้วย ถึงแม้ว่านักดนตรีจะหยุดเล่นดนตรีเมื่อพวกเขาแก่ตัวลง แต่ทักษะที่พวกเขาได้พัฒนามาตั้งแต่เด็กยังช่วยพวกเขาในการจำสิ่งต่างๆได้แม่นยำ คิดอ่านอะไรได้เร็วกว่าคนอื่นๆที่ไม่เคยเล่นดนตรี แต่การค้นคว้าบอกว่า อย่างน้อยนักดนตรีคนนั้นควรจะเล่นดนตรีมาอย่างต่ำ 10 ปี ถึงจะได้รับทักษะที่ดีเช่นนี้
8. ช่วยให้สมองแข็งแรง

8. ช่วยให้สมองแข็งแรง

เนื่องจากการเล่นเครื่องดนตรีทุกชนิด ผู้เล่นจะต้องมีความชำนาญและความคล่องแคล่วในการใช้นิ้วสูง การฝึกฝนจะช่วยให้สมองออกกำลัง และผลประโยชน์จะใช้ได้กับหลายสิ่งหลายอย่างที่แม้แต่ไม่เกี่ยวกับการเล่นดนตรีก็ตาม
9. ช่วยทำให้จำได้ดีขึ้น

9. ช่วยทำให้จำได้ดีขึ้น

การเล่นดนตรีทำให้คุณต้องใช้การจดจำ หรือความทรงจำระยะสั้นอยู่เสมอ ถ้าคุณยิ่งฝึกฝนดนตรี ความสามารถในการจดจำของคุณก็จะยิ่งแข็งแรงมากขึ้นตามไปด้วย
10. มันช่วยพัฒนาความจำระยะยาวของคุณด้วยภาพ

10. มันช่วยพัฒนาความจำระยะยาวของคุณด้วยภาพ

การเล่นดนตรียังมีผลต่อความทรงจำระยะยาวด้วย โดยเฉพาะส่วนของภาพจำ นักดนตรีคลาสลิคที่ฝึกฝนมาเป็นเวลามากกว่า 15 ปีสามารถทำคะแนนได้มากกว่าจากการจำรูปภาพในการทดสอบความทรงจำระยะยาว นี่อาจเป็นผลมาจากการที่นักดนตรีต้องอ่านและท่องจำโน้ต
11. ช่วยให้จัดการกับความวิตกกังวลได้ดีขึ้น

11. ช่วยให้จัดการกับความวิตกกังวลได้ดีขึ้น

การผลการอ่านการแสกนสมองของนักดนตรีระหว่างวัย 6-18 ปีพบว่าส่วนของเปลือกสมองที่มีผลรับผิดชอบต่ออาการซึมเศร้า อาการรุนแรง และ อาการเรียกร้องความสนใจของเด็กกลุ่มนี้หนามาก ผลมาจากการเรียนดนตรี ซึ่งช่วยในการสร้างการจัดระเบียบอาการความวิตกกังวลในจิตใจได้ดีมาก
12. ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจในตัวเอง

12. ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจในตัวเอง

มีหลายบทเรียนที่ใช้ยืนยันว่าการเล่นดนตรีช่วยเสริมสร้างความมั่นใจในตัวผู้เรียนได้มาก ในปี 2004 มีการทดลองโดยใช้นักเรียนป. 4 จำนวน 117 คน กลุ่มแรกได้เรียนเปียโนทุกอาทิตย์เป็นเวลา 3 ปี ส่วนอีกกลุ่มไม่ได้เรียน กลุ่มที่ได้เรียนทำคะแนนในบททดสอบความมั่นใจของตัวเองได้เยอะกว่ากลุ่มที่ไม่ได้เรียนกว่ามาก
13. ช่วยให้มีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น

13. ช่วยให้มีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น

การเล่นดนตรีมีส่วนช่วยในการฝึกฝนให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ อย่างการเรียนดนตรีก็คือความคิดสร้างสรรค์ในตัวเอง ตัวอย่างเช่น การที่เราเล่นดนตรีออกมาในแบบฉบับของตัวเราเอง หรือ Improvisation โดยไม่เล่นตามแบบฉบับ นักดนตรีที่ชอบการเล่นในแบบฉบับของตัวเองแบบนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นคนที่ทำกิจกรรมที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างดีเยี่ยม การเล่นดนตรียังเป็นการช่วยให้สมองซีกซ้ายและสมองซีกขวาได้คุยกันอีกด้วย
ถัดไป
img

บทความโดย

สินิธฐ์ธรา ชื่นชูจิตต์

  • หน้าแรก
  • /
  • การศึกษา
  • /
  • การให้ลูกเรียนดนตรีให้ประโยชน์ต่อลูกอย่างไรบ้าง?
แชร์ :
  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
    บทความจากพันธมิตร

    Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF

  • จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025
    บทความจากพันธมิตร

    จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025

  • เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

    เคลือบสูติบัตรได้ไหม เรื่องต้องรู้ก่อนเคลือบสูติบัตร

  • Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF
    บทความจากพันธมิตร

    Dadi International Kindergarten เรียนรู้สนุก เล่นอย่างสร้างสรรค์ ด้วย 3 ภาษา พร้อมเสริมสร้างทักษะ EF

  • จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025
    บทความจากพันธมิตร

    จุฬาฯ คว้าอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยใน 34 สาขา จาก QS WUR by Subject 2025

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
  • พัฒนาการลูก
  • ชีวิตครอบครัว
  • ระยะการตั้งครรภ์
  • โภชนาการ
  • ไลฟ์สไตล์
  • TAP สังคมออนไลน์
  • ติดต่อโฆษณา
  • ติดต่อเรา
  • Influencer Marketing (KOL)
  • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Vietnam flag Vietnam
© Copyright theAsianparent 2025. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว