X
theAsianparent Thailand Logo
theAsianparent Thailand Logo
คู่มือสินค้าเข้าสู่ระบบ
  • อยากท้อง
  • ตั้งครรภ์
    • คำนวณวันคลอด
    • ฉันกำลังตั้งครรภ์
    • ไตรมาสที่ 1
    • ไตรมาสที่ 2
    • ไตรมาสที่ 3
    • Project Sidekicks
    • ตั้งชื่อลูก
    • การให้นมลูก
  • สุขภาพและโภชนาการ
    • โภชนาการ
    • สุขภาพ
  • ลูก
    • ทารกแรกเกิด
    • ทารก
    • เด็กวัยหัดเดิน
    • เด็กก่อนวัยเรียน
    • เด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น และวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • ความรักและความสัมพันธ์
    • การเลี้ยงลูก
    • มุมคุณพ่อ
    • ประกันชีวิต
    • การวางแผนการเงิน
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • การศึกษา
    • เด็กวัยประถม
    • โรงเรียนประถม
    • มัธยมศึกษา
    • แบบฝึกหัดและข้อสอบ
    • แนะแนวการศึกษาต่างประเทศ
  • ไลฟ์สไตล์
    • ดวง
    • ทำนายฝัน
    • สีมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ข่าว
    • ดูแลบ้าน
    • แนะนำโดย TAP
    • อีเว้นท์
  • ที่เที่ยว
    • เที่ยวไทย
    • เที่ยวต่างประเทศ
    • ที่พัก และ โรงแรม
  • ที่กิน
    • ร้านอร่อย
    • ร้านอร่อยสำหรับเด็ก
    • คาเฟ่
    • เมนูอาหาร
  • ผู้หญิง
    • แฟชั่น
    • ความงาม
    • ฟิตเนส
  • TAPpedia
  • วิดีโอ
    • การตั้งครรภ์
    • ทารก
    • คำแนะนำในการเลี้ยงลูก
    • การให้นมบุตร
    • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
    • เด็กเล็ก
  • ชอปปิง
  • อีเว้นท์
    • TAP Awards Winners
    • TAP idol
    • TAP x Safari Largest Treasure Hunt
  • #สอนลูกเรื่องเงิน ฉบับพ่อแม่
  • VIP

แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

บทความ 3 นาที
แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

การให้นมลูกมีแต่ข้อดีนะคะ ทั้งประหยัดและสะดวก แถมสารอาหารและภูมิคุ้มกันยังมีเยอะแยะมากมาย แต่มีคุณแม่หลายคนค่ะ ที่ไม่สามารถให้นมลูกได้หรือให้นมลูกได้แค่ไม่กี่เดือน เพราะอาการเจ็บปวดบริเวณหน้าอก และนั่นก็คืออาการเตือนถึงอะไรบางอย่างด้วยนะคะ

แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

งานวิจัยจาก Ben-Gurion University of the Negev หรือ BGU พบว่าอาการระหว่างที่คุณแม่ให้นมลูกนั้น สามารถใช้เป็นการวินิจฉัยเบื้องต้นของโรคต่างๆ ได้ค่ะ แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

ถ้าเจ็บปวดแสดงว่าผิดปกติ

การใช้กล้องส่องตรวจผิวหนัง หรือ Dermatoscope ระหว่างการให้นมของคุณแม่ สามารถหาสาเหตุได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำมากขึ้น เนื่องจากการเจ็บหัวนมและอาการปวดร้าวบริเวณทรวงอกระหว่างการให้นมลูก เป็นสาเหตุต้นๆ ที่ทำให้คุณแม่หลายต่อหลายคนล้มเลิกการให้นมลูกนั่นเองค่ะ

เนื่องจากการตรวจเต้านมในรูปแบบเดิมไม่เพียงพอสำหรับการวินิจฉัยอีกต่อไป หากผู้เชี่ยวชาญและแพทย์สามารถหาสาเหตุของอาหารเจ็บหรือปวดได้ คุณแม่ก็จะสามารถกลับมาให้นมลูกได้ง่ายขึ้นนั่นเองค่ะ

แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค

คุณแม่มีโอกาสที่จะติดเชื้อได้

การทำงานของกล้องส่องตรวจผิวหนังนั้น จะส่องและขยายพื้นที่ของหนังกำพร้าให้ใหญ่ขึ้นเป็น 10 เท่า และเป็นภาพ 3 มิติ เพื่อเห็นภาพบริเวณนั้นได้ชัดเจนขึ้น ทั้งผู้เชี่ยวชาญและแพทย์เองจะเห็นความผิดปกติได้ชัดเจนและง่ายขึ้นด้วยนะคะ

ซึ่งการตรวจแบบนี้นั้นก็สามารถวินิจฉัยอาการที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อรา การติดเชื้อแบคทีเรีย การเจ็บปวดโดยไม่ทราบสาเหตุ และการปวดร้าวไปทั้งทรวงอก

ดังนั้นหากระหว่างการให้นมลูก คุณแม่มีอาการเจ็บปวดใดๆ ก็ตาม ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยและรักษาต่อไป เนื่องจากอาจจะทำให้ลูกติดเชื้อไปด้วยก็เป็นได้ค่ะ

ที่มา news-medical

บทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

น้ำนมแม่ กับการป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ

บทความจากพันธมิตร
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
Attitude Mom รุ่น Galaxy II เครื่องปั๊มนม ที่คุณแม่วางใจ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างมีประสิทธิภาพ
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
รีวิว IMANI i2 Plus อันดับ 1 เครื่องปั๊มนมไร้สายสุดพรีเมียม ผู้ช่วยของคุณแม่ยุคใหม่ที่ทำให้การปั๊มนมเป็นเรื่องง่าย
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
เตรียมความพร้อมก่อนกลับไปทำงานของคุณแม่นักปั๊มฉบับ Working Mom
ทำความรู้จัก NAN GOLD HA3 เจ้าของรางวัล Parents’ Choice Awards Best Hypoallergenic Formula Milk จากเวที theAsianparent Awards 2022
ทำความรู้จัก NAN GOLD HA3 เจ้าของรางวัล Parents’ Choice Awards Best Hypoallergenic Formula Milk จากเวที theAsianparent Awards 2022

มีข้อสงสัยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือมีคำถามเรื่องการเลี้ยงลูกหรือเปล่าคะ? ติดตามอ่านบทความ หรือสอบถามสิ่งที่คุณอยากรู้ผ่านแอปของเราได้เลย ดาวน์โหลด theAsianparent แอปพลิเคชัน ทั้ง IOS และ Android ได้แล้ววันนี้!

Follow us on:
facebook-logo instagram-logo tiktok-logo
img
บทความโดย

สิยาพัฐ บุญช่วย

  • หน้าแรก
  • /
  • อาหารเสริมทารก & โภชนาการ
  • /
  • แค่ในนมลูก ก็รู้ว่าเป็นโรค
แชร์ :
  • ทำไมให้นมลูก แล้วมัก เจ็บหัวนม อาการเจ็บหัวนม เกิดจากสาเหตุอะไร

    ทำไมให้นมลูก แล้วมัก เจ็บหัวนม อาการเจ็บหัวนม เกิดจากสาเหตุอะไร

  • จะให้นมลูกได้ไหม ปัญหาเรื่อง หัวนมใหญ่ ยาว สั้น บอด

    จะให้นมลูกได้ไหม ปัญหาเรื่อง หัวนมใหญ่ ยาว สั้น บอด

  • 5 เครื่องดื่มอันตรายสำหรับคนท้อง ห้ามกินเด็ดขาด เตือนแล้วนะ !

    5 เครื่องดื่มอันตรายสำหรับคนท้อง ห้ามกินเด็ดขาด เตือนแล้วนะ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

  • ทำไมให้นมลูก แล้วมัก เจ็บหัวนม อาการเจ็บหัวนม เกิดจากสาเหตุอะไร

    ทำไมให้นมลูก แล้วมัก เจ็บหัวนม อาการเจ็บหัวนม เกิดจากสาเหตุอะไร

  • จะให้นมลูกได้ไหม ปัญหาเรื่อง หัวนมใหญ่ ยาว สั้น บอด

    จะให้นมลูกได้ไหม ปัญหาเรื่อง หัวนมใหญ่ ยาว สั้น บอด

  • 5 เครื่องดื่มอันตรายสำหรับคนท้อง ห้ามกินเด็ดขาด เตือนแล้วนะ !

    5 เครื่องดื่มอันตรายสำหรับคนท้อง ห้ามกินเด็ดขาด เตือนแล้วนะ !

  • ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

    ลูกเหงื่อออกตอนนอน สัญญาณโรคร้ายที่พ่อแม่ต้องระวัง

ลงทะเบียนรับคำแนะนำเรื่องการตั้งครรภ์พัฒนาการลูกในท้องได้ที่นี่
  • เตรียมตัวเป็นผู้ปกครอง
    • ก่อนตั้งครรภ์
    • การคลอด
    • ระยะการตั้งครรภ์
    • การคลอด
  • พัฒนาการลูก
    • ทารก
    • เด็กก่อนเข้าเรียน
    • ช่วงวัยของเด็ก
    • เด็กก่อนวัยรุ่น
  • ชีวิตครอบครัว
    • การวางแผนการเงิน
    • การเลี้ยงลูก
    • ความรัก และ เซ็กส์
  • ระยะการตั้งครรภ์
    • ไตรมาส 1
    • ไตรมาส 2
    • ไตรมาส 3
    • นมแม่และนมผง
  • โภชนาการ
    • สินค้าเด็ก
    • นมผง
    • เมนูอาหาร
    • สินค้าแม่
  • เพิ่มเติม
    • TAP สังคมออนไลน์
    • ติดต่อโฆษณา
    • ติดต่อเรา
    • Influencer Marketing (KOL)
    • มาเข้าร่วมกับเรา


  • Singapore flag Singapore
  • Thailand flag Thailand
  • Indonesia flag Indonesia
  • Philippines flag Philippines
  • Malaysia flag Malaysia
  • Sri-Lanka flag Sri Lanka
  • India flag India
  • Vietnam flag Vietnam
  • Australia flag Australia
  • Japan flag Japan
  • Nigeria flag Nigeria
  • Kenya flag Kenya
© Copyright theAsianparent 2023. All rights reserved
เกี่ยวกับเรา |ทีม|นโยบายความเป็นส่วนตัว |ข้อกำหนดการใช้ |แผนผังเว็บไซต์
  • เครื่องมือ
  • บทความ
  • ฟีด
  • โพล

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

เราใช้คุกกี้เพื่อมอบประสบการณ์คอนเทนต์ที่ดีที่สุดให้กับคุณ. เรียนรู้เพิ่มเติมตกลง เข้าใจแล้ว

theAsianparent heart icon
เราต้องการส่งแจ้งเตือนข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลทารกและสุขภาพไปให้กับคุณ